การแบ งเวลาทางประว ต ศาสตร ม หล กเกณฑ ในการแบ งอย างไร

mayuree.see0303 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

หน่วย1 เรื่อง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

หน่วย1 เรื่อง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

หน่วย1 เรื่อง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

6. นักประวตั ศิ าสตรใ์ ชเ้ กณฑ์อะไรแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรอ์ อกเปน็ สมัยก่อนประวัติศาสตรแ์ ละสมยั

ประวัติศาสตร์

ก. การต้ังถ่ินฐาน ข. เครอื่ งมือเคร่ืองใช้

ค. ตำนานหรือภาพถา่ ย ง. หลกั ฐานทเ่ี ป็นลายลักษณ์อักษร

7. ในประเทศไทย พบหลกั ฐานของมนุษยย์ คุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ยุคใดบา้ ง

ก. ยคุ หนิ เกา่ ข. ยุคหนิ ใหม่

ค. ยุคสำริด ง. ถูกท้งั ข้อ ก ข และ ค

8

8. มนุษยห์ นิ รนุ่ สดุ ทา้ ยที่มีลักษณะเหมอื นมนุษย์มากทสี่ ุดคือข้อใด

ก. มนุษยโ์ ครมันยอง ข. มนุษย์นีแอนเดอรธ์ ลั

ค. มนษุ ยล์ ิง ง. มนุษยช์ วา

9. ชมุ ชนโบราณสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นภาคกลางของประเทศไทยส่วนใหญ่จะพบอยบู่ ริเวณใด

ก. บรเิ วณตอนเหนอื และตอนใต้ ข. บรเิ วณตะวันออกและตะวันตก

ค. บรเิ วณตะวนั ตกเฉียงเหนอื และตะวันตกเฉยี งใต้ ง. บรเิ วณตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

10. สถานที่ใดที่มีการขุดคน้ พบเครื่องปน้ั ดินเผาลายเขียนสีทส่ี วยงาม และเคร่ืองมอื เครอ่ื งใชท้ ที่ ำดว้ ยสำรดิ

เชน่ กำไลหิน แหวนและลูกปัด

ก. หนองโน จังหวัดชลบรุ ี ข. ถ้ำผีและถ้ำพระ

ค. บา้ นเชยี ง จงั หวดั อุดรธานี ง. บ้านเก่า จงั หวดั กาญจนบรุ ี

9

กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ (ยุคสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย () ลงในช่องใหต้ รงกับขอ้ ทน่ี ักเรียนเลือกตอบ

ชอื่ ……………………………………นามสกุล…………………………………ช้นั …………เลขท…่ี …..

ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รวมคะแนนทไ่ี ด้

10

สาระสำคญั

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จัดว่า มีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของโลก เพราะจะช่วยให้เราทราบถึงเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละยุค รวมทั้งสามารถนำมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับเหตุการณ์ในสมัยปัจจุบันได้ เช่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่สามารถ คิดประดิษฐ์อักษรขน้ึ ได้ การศึกษาเรอื่ งราวสมยั ก่อนประวัตศิ าสตรจ์ ึงต้องอาศัยหลกั ฐานทางโบราณคดี

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (K) (P) 1. นกั เรียนอธิบายการแบง่ ยุคสมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ได้ (A) 2. นักเรียนเขียนแผนภมู ิแสดงการแบ่งยุคสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ 3. นักเรยี นมกี ระบวนการทำงานกลมุ่ เร่อื งการแบ่งยคุ สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์

พร้อมแลว้ ! เราไปเรียนรูก้ นั เลย…

11

ความสำคัญของประวตั ศิ าสตร์

ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลา และยุคสมัยตา่ ง ๆ กนั โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือศึกษาวา่ มนุษย์ในอดีตได้คดิ อะไร และกระทำสงิ่ ใด อีกท้ังความคิด และการกระทำดงั กล่าวมีอิทธิพลต่อชีวิตมนษุ ยท์ ้ังในช่วงเวลาดงั กล่าว และชว่ งเวลาต่อมาอย่างไร หากแต่อดีต ของมนุษย์นั้นมีระยะเวลายาวนานมาก จึงจำเป็นจะต้องมีการแบ่งช่วงเวลาดังกล่าวออกเป็นยุคสมัยต่าง ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอดีต ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และเพื่อให้เห็นถึง ลกั ษณะสำคญั ของแต่ละชว่ งเวลา

ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์

สามารถแบ่งออกเป็น 2 สมัย คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และ สมัยประวัติศาสตร์ สำหรับสิ่งที่ใช้ เป็นเกณฑ์ในการกำหนดอายุคือ “ตัวอักษร” ดังนั้นแล้ว ในแต่ละสังคมหรือแหล่งอารยธรรมต่าง ๆ ในโลก จึงเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน ขึ้นอยู่กับว่าสังคมหรืออารยธรรมใดสามารถประดิษฐ์ตัวอักษร ขึน้ ใชไ้ ด้ก่อน

จดุ เริ่มตน้ ของยคุ สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์

โดยทั่วไปแล้ว นักประวัติศาสตรแ์ ตล่ ะสำนักให้นิยามไมต่ รงกัน เช่น -กำหนดใหเ้ ร่ิมต้ังแต่ กำเนดิ โลก โดยแบง่ ตามสภาพภูมิศาสตร์ และ หินของโลก -กำหนดให้เร่ิมตั้งแต่ ชว่ งเวลาทีม่ ีสงิ่ มีชีวิต ท่ีเรียกว่าโฮโมเซเปียนส์ (ซ่ึงถอื ได้ว่าบรรพบุรุษ ของมนุษย)์ กำเนิดขน้ึ

12

สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรห์ มายถงึ อะไร ?

ระยะเวลาที่ดินแดนแห่งหนึ่งแห่งใดยังไม่มีหลักฐานบันทึกเรื่องราวเป็นลายลักษณ์อักษร ให้คนรุ่นต่อมาสามารถศึกษาเกี่ยวกับสถานที่นั้น ๆ ได้ต้องอาศัยหลักฐานอย่างอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ โครงกระดูกมนุษย์ และกระดูกสัตว์ เป็นต้น เมื่อใดที่ดินแดนนั้น ๆ มีการบันทึกเรื่องราวเป็นลายลักษณ์อักษรให้ทราบได้แล้วก็ถือเป็นสมัยประวัติศาสตร์ โดยที่หลักฐานที่เป็น ลายลักษณอ์ ักษรเหลา่ น้ีมิได้มีในรูปแบบเดยี วแต่ในทางกลับกันมีไดห้ ลายประเภทหลายรูปแบบ เช่น การจารึก ลงบนแผน่ หนิ หรอื ทม่ี กั จะนิยมเรยี กกันมากว่า ศิลาจารึก หรือการจารึกลงบนแผ่นดินเหนียวแล้วเอาไปเผาไฟ เพื่อใหก้ ลายเปน็ แผน่ อฐิ หรอื เขยี นลงไปบนแผ่นผา้ แผน่ กระดาษ และวสั ดอุ ่นื ๆ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง เปน็ ต้น

เป็นช่วงเวลาที่ยังไม่มีการจดบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เนื่องจากยังไม่มี การรับเอาตัวอักษรจากที่อื่น หรือยังมิได้มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมาใช้ในการจดบันทึก ในประเทศไทย เราสามารถแบง่ ไดเ้ ป็นยุคสมัยต่าง ๆ เชน่ ยุคหนิ และยุคโลหะ

สรปุ ความรู้เพิม่ เติม

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistorical Period) คือ ช่วงเวลา ที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้บันทึกเรื่องราว ด้วยเหตุนี้ จึงยังไม่มีหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร เช่น เอกสาร หรือจารึกที่บันทึก เรอ่ื งราวใหม้ นุษยใ์ นยคุ หลงั ทราบได้

ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงต้อง อาศัยการสันนิษฐาน และการตีความจากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครือ่ งใช้ต่าง ๆ เครื่องประดับ ภาพเขียนสบี นเพิงผาและผนังถ้ำ หลุม ฝังศพ เป็นต้น สำหรับตัวอย่างหลักฐานของมนษุ ยส์ มัยกอ่ นประวัติศาสตร์ เชน่ โครงกระดูกของมนุษย์โครมันยอง โครงกระดูกของมนุษย์ชวา โครงกระดูก ของมนุษย์ปักกิง่ แหล่งโบราณคดชี ุมชนบ้านเชียง เป็นตน้

13

Australopithecus Homo habilis Homo erectus Homo sapiens Homo sapiens

robustus neanderthalensis sapiens

โฮโมอีเรกตัส (Homo erectus) โฮโมซาเปยี้ น ซาเป้ียน (Homo sapiens sapiens) มนษุ ย์เดินตวั ตรง คือ มนุษยป์ จั จบุ นั - เก่าแก่ทส่ี ุดในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ “มนษุ ยช์ วา” - เกา่ แกท่ ส่ี ดุ ในเอเชยี ตะวนั ออก

มนษุ ย์ลำปาง

มนุษย์ลำปาง ชนิ้ ส่วนกะโหลกบริเวณเหนือสันกระบอกตาด้านขวา ของมนุษย์ยุคแรกๆ พบท่ี อ. เกาะคา จ. ลำปาง หลกั ฐานเก่าแก่ แสดงถงึ สง่ิ มีชีวติ ในดินแดนไทย

14

สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์

ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว นับเป็นก้าวแรกของมนุษย์ ที่ได้มีการพยายามรวมกลุ่มกันทางสังคม เพื่อเป็นการสร้างการเอาตัวรอด ในช่วงเวลาดังกล่าวชุมชนมนุษย์ยังรวมตัวกันไม่มากนัก ลักษณะทางสังคม และการปกครอง มีผู้นำชุมชนเป็นผู้ที่มีความแข็งแรง ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ในสังคมที่ต้องด้ินรนเพือ่ เอาตัวรอด ผู้นำที่เข้มแข็ง สามารถนำกลุ่มคนในการแสวงหาอาหาร การล่าสัตว์ จึงมีความสำคัญ ดังนั้น ผู้นำที่มีความ แขง็ แรงจงึ มคี วามเหมาะสมในสงั คมแบบดังกล่าว

ในระยะเวลานี้ แม้มนุษย์จะยังอยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง อาศัยอยู่ตามถ้ำ เชิงผาต่าง ๆ แต่ต่อมา เริ่มมีการตั้งที่พักอาศัยเป็นหลักแหล่งมากยิ่งขึ้น เช่น การรวมกลุ่มกันเป็นชุมชน ตามแหล่งน้ำ และสร้างอารยธรรมในแบบของตนขึ้น เช่น เริ่มมีการปลูกข้าว การเลี้ยงสัตว์แทนการออกล่าสัตว์ ทำให้สามารถกะปริมาณอาหารในการหล่อเลี้ยงชุมชนได้ เมื่อมีการรวมกันเป็นหลักแหล่งแล้ว มนุษย์จึงเริ่ม ที่จะสร้างพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นกระบวนการควบคุมทางสังคม และเพื่อการอยู่รอด เช่น การร้องขอฟ้าฝน หรอื วญิ ญาณ บรรพบุรษุ ใหค้ ุ้มครองชมุ ชน และประทานน้ำฝนเพอ่ื ใช้หล่อเลีย้ งพืชผลทางการเกษตร

สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ เขาอาศยั อยู่อย่างไรกนั นะ

15

การแบ่งยุคสมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์

การแบง่ ยุคสมัยยอ่ ยของสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ สามารถแบง่ โดยอาศยั หลักฐาน เชน่ เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ หรอื รปู แบบการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ โดยสามารถแบ่งได้ ดงั นี้

1. การแบง่ ยคุ สมยั ตามชนิดของวสั ดทุ ่ีนำมาใช้ทำเคร่อื งมอื เคร่ืองใช้ มนุษย์ในอดีตได้พัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้เพื่อการดำรงชีวิต โดยใช้วัสดุและเทคนิควิธีการ

ที่แตกต่างกัน วัสดุสำคัญที่ใช้กำหนดช่วงเวลาในสมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ คือ "หินและโลหะ" จึงเรียกช่วงเวลา ยอ่ ยในสมัยกอ่ นประวัติศาสตรน์ ้วี า่ “ยุคหนิ ” และ “ยุคโลหะ”

2. การแบง่ ยคุ สมัยตามวิถีการดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่มีการสร้างที่อยู่อาศัย

เป็นหลักแหล่ง แต่จะเลือกอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือเชิงผา และดำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์และหาของป่า จากนั้นจึงได้พัฒนาไปสู่การตั้งถิ่นฐานในลักษณะของหมู่บ้านเกษตรกรรม และได้พัฒนาเป็นสังคมเมือง ในเวลาต่อมา ดังนั้น นักโบราณคดีในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จึงได้แบ่งช่วงเวลาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตามวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ ออกได้ 3 ระยะ คือ สังคมหาของป่าและล่าสัตว์ สังคมเกษตรกรรม และ สงั คมเมือง

สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ แบ่งออกได้ 2 ยคุ

ยุคหนิ (Stone Age) แบ่งย่อยเปน็ 3 สมัยย่อย คือ สมยั หินเกา่ / สมยั หนิ กลาง / สมัยหินใหม่

ยุคโลหะ (Metal Age) แบง่ ยอ่ ยเปน็ 2 สมัยย่อย คือ สมยั สำริด / สมยั เหลก็

16

สภาพสงั คมสมัยกอ่ นประวัติศาสตร์

นับเป็นเวลาหลายแสนปีแล้วที่มนุษย์ได้จับกลุ่มกระทำเพื่อประโยชน์ร่วมกั นบางอย่าง สังคมมนุษย์ในยุคแรก ๆ ยังเป็นสังคมของชนกลุ่มเล็ก ๆ ที่เร่ร่อนไปตามแหล่งอาหาร การคบหาสมาคม ระหว่างกลุ่มยงั จำกัด นักสงั คมวิทยาเรยี กสังคมมนุษยย์ ุคนว้ี ่า มนษุ ย์สมยั กอ่ นประวัติศาสตร์

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic World) เริ่มตั้งแต่การปรากฏตัวเป็นครั้งแรกของมนุษย์ จนถึงยุคก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษร สังคมในยุคนี้ถูกเรียกว่า สังคมดั้งเดิม (Primitive Society) ผู้คนในสมัยน้ี จะมีประวัติความเป็นมาร่วมกันเป็นเผ่าพันธุ์หรือชาติวงศ์เดียวกัน มีภาษาพูดและวัฒนธรรมรูปแบบเดียวกัน มนุษย์สมัยนี้มีชีวิตแบบคนเถื่อนพึ่งพาธรรมชาติ นักโบราณคดีแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ออกเป็น ยุคหนิ และยุคโลหะ

สังคมมนุษย์ยุคหินเก่า คนในยุคหินเก่าดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้กินเป็นอาหาร มีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติและสภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลง ก็ต้องอพยพย้ายถิ่นติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จำเป็นต้องแสวงหาถิ่นที่อยู่ใหม่เพราะต้องล่าสัตว์ ดังกล่าว อาจทำให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคไปในตัวด้วยเนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่า ต้องอยู่กับการแสวงหาอาหาร และการป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติ รวมถึงการต่อสู้ ในหมู่พวกเดียวกันเพื่อการอยู่รอดจึงทำให้ต้องพัฒนาเกี่ยวกับเครื่องมือล่าสัตว์ โดยการพัฒนาอาวุธที่ทำด้วย หินสำหรับตัด ขูด สับ เช่น หอก มีดและเข็ม ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่าคนในยุคหินเก่า เริ่มอยู่กันเป็นครอบครัวแล้ว แต่ยังไม่มีการอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนอย่างแท้จริง เพราะวิถีชีวิตแบบเร่ร่อน ไม่เอื้ออำนวยให้มีการตั้งหลักแหล่งถาวร ขณะเดียวกันองค์กรทางการเมืองการปกครองก็ยังไม่เกิดขึ้น สังคมจงึ มสี ภาพเปน็ อนาธปิ ัตย์ คือไมม่ ผี ู้เป็นใหญ่แนน่ อน ผู้ทีม่ อี ำนาจมักเปน็ ผทู้ ม่ี ีความแข็งแรงเหนือผู้อืน่

นอกจากนี้ยังพบว่าคนในยุคน้ี เริ่มรู้จักแสดงความรู้สึกออกมาในรปู ของศลิ ปะบ้างแล้ว ศิลปะที่สำคญั ได้แก่ รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบภายในถ้ำอัลตะมิระ (Alta mira) ทางตอนใต้ของสเปน และภาพสัตวส์ ว่ นใหญ่เป็นภาพสตั ว์ที่คนสมัยน้ันล่าเปน็ อาหาร มวี ัวกระทงิ มา้ ป่า กวางแดงและกวางเรนเดียร์ เป็นต้น พบที่ถ้ำลาสโก (Lascaux) ในประเทศฝรั่งเศส ส่วนในประเทศไทยพบที่ถ้ำตาด้วง จังหวัดกาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวดั อุดรธานี และถำ้ ผหี วั โต จงั หวัดกระบ่ี เปน็ ต้น

(ภาพเขียนบนผนงั หนิ ทีถ่ ้ำตาดว้ ง จงั หวดั กาญจนบุรี)

17

สังคมมนุษย์ยุคหินใหม่ คนในยุคหินใหม่ได้เริ่มปฏิวัติการครองชีพด้วยการเปลี่ยนวิถีชีวิตจากการล่าสัตว์ และหาของป่ามาเลี้ยงสัตว์มาทำการเพาะปลูกแทน ถือเป็นการปฏิวัติทางสังคมและเศรษฐกิจครั้งสำคัญ ของมนุษยชาติ การเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็นเกษตรกรดังกล่าว นอกจากจะทำให้คนต้องหันมาเลี้ยงสัตว์ และฝึกหดั สัตวใ์ หเ้ ชอ่ื งแลว้ คนยงั ต้องเรยี นรู้การไถหวา่ น และเกบ็ เกี่ยวพืช เชน่ ลกู เดือย ขา้ วสาลี ข้าวโพด

สภาพสังคมขณะนั้นพบว่า ผู้คนต้องหักร้างถางพงสำหรับการเพาะปลูกมีการทำคอกสำหรับขังสัตว์ และสร้างที่พักอาศัยอย่างถาวรแทนการเร่ร่อน อาศัยอยู่ในถ้ำเช่นคนยุคหินเก่า เมื่อหลายครอบครัว อาศยั อยู่รวมกนั เป็นหมู่บ้าน จึงถือว่าหม่บู า้ นเกษตรกรรมเหลา่ นีค้ ือหม่บู า้ นแหง่ แรกของโลก

เทคโนโลยีของคนในยุคหินใหม่ทำขึ้นจากวัสดุหลายชนิด เช่น หิน กระดูก และเขาสัตว์ที่แตกต่าง จากคนในยุคหินเก่า คือ เครื่องมือเครื่องใช้เหล่านั้นมีประโยชน์ใช้สอยและประณีตมากขึ้น เครื่องมือที่สำคัญ คือ ขวานหินด้ามเป็นไม้ และเคียวหินเหล็กไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสร้างงานหัตถกรรมในครัวเรือน อีกหลายอย่าง ได้แก่ เครื่องปั่นด้าย เครื่องทอผ้า เครื่องจักสาน และเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งมักทำข้ึน อยา่ งหยาบ ๆ ไม่มกี ารตกแตง่ ลวดลายมากนกั

ในด้านศลิ ปะพบวา่ คนในยคุ หินใหมม่ ีการปั้นรูปสตรแี ละทารกลกั ษณะคล้ายรูปแม่พระธรณี อันเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร ชุมชนยุคหินใหม่ที่เก่าแก่ที่สุด พบในตะวันออกกลางบริเวณทเ่ี ปน็ ประเทศ ตุรกี ซีเรยี อสิ ราเอล อริ ัก ภาคตะวนั ออกของอิหร่านและเลยไปถึง อียิปต์ในทวีปแอฟริกาในปัจจุบัน จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงว่า คนที่อยู่ในบริเวณดังกล่าวได้ค้นพบ วิธีการเกษตรกรรมมาประมาณ 7,000 ปีมาแล้ว และดเู หมือนว่ารากฐานความรู้ทางเกษตรกรรมของชาวยุโรป กร็ บั ไปจากบรเิ วณนี้

สงั คมมนุษย์ยุคโลหะ คนยคุ โลหะเริม่ รู้จักใช้ทองแดงและสำริดมาทำเป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้และเคร่ืองประดับ ในส่วนของกิจกรรมการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ได้มีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วิถีชีวิตของคน ในยุคโลหะได้เปลี่ยนจากสภาพความเป็นอยู่แบบชุมชนเกษตรกรรมมาเป็นชุมชนเมือง ซึ่งเมืองดังกล่าว ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางของการเกษตรกรรม การปกครองและสังคมความสัมพันธ์ทางสังคมของยุคนี้ จะอยกู่ นั แบบเครือญาติ (Kinship relations) มคี วามรกั ใคร่กลมเกลยี วและผูกพันอย่างใกล้ชดิ เพราะเป็นสังคม ขนาดเล็ก การจัดระเบียบทางสังคมจะเป็นไปในแบบของตระกูล (Clan) และหมู่บ้าน (Village) มากกว่า ท่ีจะเป็นไปในสังคมแบบปัจจุบนั

18

แหล่งอารยธรรมสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย

1. บ้านเก่า อยู่ในยุดหินใหม่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ได้ขุดค้นพบเครื่องมือหินขัดเรือ “ขวานฟ้า” เครือ่ งประดบั ที่ทำด้วยหิน เช่น กำไล ลกู ปดั และเคร่ืองปัน้ ดินเผาสีดำสามขา เปน็ ต้น

2. ถ้ำพระ อยู่ในยุคหินกลาง ตั้งอยู่ในบริเวณอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจบุรี มนุษย์รู้จักการทำ ขวานหินประณีตขน้ึ มกี ารกะเทาะท้ังสองข้างใหเ้ รียบ

3. ถ้ำผี อยู่ในยุคหินกลางเช่นเดียวกัน แต่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีการขุดค้นพบ เศษเครือ่ งปนั้ ดนิ เผา กระดกู สตั ว์ ตลอดทั้งซากพชื เมล็ดพืชหลายชนิดท่ีแสดงใหเ้ หน็ วา่ ได้มกี ารนำพืชมาปลูก

4. บ้านเชียง อยู่ในยุคโลหะ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มีการขุดค้นพบ เครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสีที่สวยงามมาก และยังขุดค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยสำริด เช่น กำไลหิน แหวน และลกู ปัด เป็นต้น

บ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์

ในยุคสำริดต่อเนื่องจนถึงยุคเหล็ก ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี เป็นแหล่งอารยธรรมโบราณคดี ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก อายุยุคสำริดและยุคเหล็กที่บ้านเชียงจัดว่าเก่าแก่ แห่งหนึ่งของโลก จนในที่สุดองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประช าช าติหรือยูเนสโ ก (UNESCO) ประกาศยกย่อง ให้แหลง่ โบราณคดบี ้านเชยี งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมอื่ พ.ศ. 2535

19

ศิลปะถำ้ สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์

ภาพที่คนก่อนประวัติศาสตร์ทำไว้ตามผนังถ้ำและเพิงผาโดยลงสีเป็นภาพคน ภาพมือ ภาพสัตว์ และภาพเรขาคณิต บางครั้งเป็นภาพพิธีกรรม สีที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นสีแดง รองลงมาสีขาวและสีดำ ไม่พบสีอื่น ภาพเหล่านี้ไม่สามารถกำหนดอายุได้ แต่อาจใช้หลักฐานอ่ืน ๆ ที่พบในถ้ำบอกยุคสมัยและเปรียบเทียบ อายุของภาพได้

20

เงนิ ตราในยุคสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์

ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ คนเรามีการแลกเปลี่ยนผลิตผลระหว่างกัน เช่น การนำขวานหินไปแลกขา้ ว หรือเนือ้ สัตว์ ต่อมาจึงมกี ารใช้ส่ิงมีค่าเป็นท่ีต้องการทั้งสองฝา่ ยเปน็ ส่ือกลางการแลกเปลี่ยน ได้แก่ เปลือกหอย เมล็ดพืช ปศุสัตว์ ลูกปัด ขวานทองแดง หัวธนู เครื่องมือการเกษตร เป็นต้น และในที่สุดได้นำโลหะทองแดง โลหะเงิน โลหะทองซึ่งหายาก มีความคงทน ตัดแบ่งได้ง่ายมาใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เมื่อมีการรวมดินแดนต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นประเทศในสมัยโบราณ ผู้มีอำนาจในการปกครองได้ใช้ ตราเครอ่ื งหมายของตนประทบั ลงบนเมด็ เงินท่ีใช้ชำระหน้ี โลหะเงินประทับตราจงึ เกดิ เป็นเงินตราข้ึน

นักโบราณคดีขดุ พบเครื่องมือเคร่ืองใช้ของคนสมยั ก่อนประวัติศาสตรท์ ่ีละทง้ิ หรือฝงั รวมอยู่ในหลุมศพ อยู่เสมอ โดยมีทั้งขวานหินกะเทาะ ขวานหินขัด ขวานหินมีบ่า อาวุธทำด้วยกระดูก ถ้วยหม้อดินเผาขึ้นรูป ด้วยมือ วัตถุโบราณเหล่านี้บอกให้ทราบว่าเจ้าของเครื่องมือเครื่องใช้เหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่ด้วยการล่าสัตว์ และเก็บของป่า เมื่อประมาณ 10,000-7,000 ปีก่อน หลังจากนั้นก็มีการรวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือชุมชน ขนาดเลก็ ที่อยูร่ วมกันเป็นสังคมเกษตรกรรมท่รี ู้จักเลี้ยงสตั ว์และเพาะปลูกพืชไรห่ มุนเวียนเม่ือประมาณ 3,500 ปีมาแล้ว กลุ่มชนกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้มิได้อาศัยอยู่อย่างโดดเดี่ยวแต่มีการติดต่อกับชุมชนอื่นที่อยู่ห่างไกล ที่ใหญ่กว่าในระดับหมู่บ้าน เพื่อแลกผลิตผลทางการเกษตรกับสินค้าอื่นที่ไม่มีในชุมชนนั้น ด้วยเหตุนี้จึงพบว่า มีเครื่องมือเครื่องใช้เครื่องประดับสำริดปนอยู่กับถ้วยชาม เครื่องปั้นดินเผา การขุดพบลูกปัดทำจากหินผลึก และแกว้ หลากหลายสแี ละรปู แบบแสดงวา่ เป็นสินค้าที่มาจากโพน้ ทะเลอีกด้วย

21

การติดต่อเพื่อแลกเปลี่ยนผลิตผลการเกษตรและของป่านี้ทำให้มีการถ่ายทอดความรู้ วิธีการผลิต หลายชนิด ได้แก่ การทำเส้นด้ายจากปุยฝ้ายด้วยดินเผา การย้อมเส้นด้าย การทอผ้า การปั้นภาชนะดินเผา โดยใช้แป้งและตกแต่งลายด้วยลายขูดขีดหรือรอยประทับ การหลอมโลหะโดยใช้ทองแดงผสมกับดีบุก เพื่อให้ได้โลหะชนิดใหม่ที่แข็งขึ้นเรียกว่า สำริด การหล่อโลหะด้วยแม่พิมพ์หินทรายอย่างหยาบ ๆ หรือแม้แต่การหล่อเครื่องประดับ เครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ ด้วยวิธีที่ซับซ้อนมากขึ้นด้วยการหุ้ม แม่แบบขี้ผึ้งและเทโลหะสำริดละลายลงไปแทนขี้ผึ้ง (Investment Casting-Lost wax) อันเป็นกรรมวิธี การผลิตที่ใช้กับวัตถุสำริดขนาดใหญ่ เช่น กลองมะโหระทึกตามแบบวัฒนธรรมดองซอนในเวียดนามเหนือ ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วยการใช้สมุนไพร พิธีกรรม ความเช่ือ การเชือ่ มโยงผูกพนั กนั ดว้ ยการแต่งงาน เป็นต้น

การติดต่อกันเพื่อแลกเปลี่ยนผลิตผลกับวัตถุอื่นที่ต้องการทำให้เกิดระบบการแลกเปลี่ยน (ฺBarter System) โดยตรงขึ้นน้ัน ทำให้มีความสะดวกในการดำรงชีวิตมากขึ้นจากวัตถุหลายชนิดที่ไม่สามารถ ผลิตขึ้นเองได้เนื่องจากขาดวัตถุดิบหรือขาดความรู้ในการผลิต ดังนั้น จึงทำให้มีการแลกเปลี่ยนวัตถุต่อวัตถุ อย่างกว้างขวางและติดต่อกันเป็นเวลานานจนเข้าสู่ยุคสำริด เมื่อประมาณ 3,000 - 2,500 ปีมาแล้ว มีความนิยมโลหะสำริดซึ่งมีคุณสมบัติดีกว่าเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับที่ทำจากหิน กระดูก หรือเปลือกหอยมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อได้เรียนรู้คุณสมบัติโลหะสำริดที่มีเหนือกว่าวัตถุอื่นที่นำมาใช้แลกเปลี่ยน โดยตรง ดังเช่น สามารถเก็บไว้ได้นานโดยไม่เน่าเปื่อยเสียหาย สามารถตัดแบ่งเป็นก้อนเล็ก ๆ ได้โดยไม่ทำให้ เสียคุณสมบัติของโลหะไปแล้วยังสามารถนำไปหลอมรวมกันเป็นโลหะก้อนใหญ่ได้โดยมีคุณสมบัติเหมือนเดิม ความที่โลหะสามารถนำไปหลอมหรือผลิตวัตถุรูปทรงต่าง ๆ ได้ โดยไม่มีขีดจำกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งสามารถ นำไปทำอาวุธที่มีความยาว ความแข็ง และมีความคมกว่าขวานหินหรือมีดที่ทำจากกระดูก ความนิยมโลหะ สำริดจึงเกิดขึ้นอย่างกว้างขวางโดยนำไปทำภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องใช้ เครื่องดนตรี และอาวุธ ซ่งึ นอกจากโลหะสำรดิ แลว้ ยังนิยมใช้โลหะอ่นื เช่น เงิน ทองคำ ทองแดง และดีบกุ เปน็ ตวั กลางการแลกเปล่ยี น มากขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็นิยมใช้โลหะชนิดต่าง ๆ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนมากกว่าวัตถุชนิดอื่น โดยกำหนดมูลค่าของโลหะแตล่ ะชนดิ ให้สูงต่ำกวา่ กนั โดยขึ้นอยู่กบั ชนิดและน้ำหนักของโลหะวา่ หายาก หาง่าย และมีน้ำหนักใน (ปริมาณ) มากน้อยต่างกันและรวมถึงความสวยงามต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถจัดลำดับ ของมูลค่าของโลหะแต่ละชนิด ได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดง และดีบุก โดยที่โลหะเงินมีมูลค่าระหว่างกลาง ไม่สูงเหมือนทองคำและไม่ต่ำเหมือนดีบุกและทองแดง จึงเหมาะแก่การนำมาใช้เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลย่ี นมากที่สดุ

ถงึ เวลา ทำกจิ กรรมแลว้ !!

22

ชอ่ื …………………………………นามสกุล………………………….ชนั้ ..………เลขท…่ี ........

บัตรกจิ กรรมชุดที่ 1 เรอ่ื ง การแบ่งยุคสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์

คำชี้แจง : นกั เรียนอธิบายการแบ่งยุคสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ต่อไปน้ีให้ถูกตอ้ ง

การแบง่ ช่วงเวลาสมัยก่อนประวัติศาสตร์

แบ่งตาม……………………………………………………… แบง่ ตาม………………………………………………………

ยคุ หิน ยุคโลหะ ยุค……………… ยคุ สงั คมเกษตรกกรม ยุค………………

แบ่งออกเปน็ …………………… มนุษย์ลา่ สัตว์ …………………… …………………… ……………………… …………………… เก็บหาอาหาร …………………… …………………… ……………………… …………………… ไม่มที พ่ี ักแนน่ อน …………………… …………………… ……………………… …………………… …………………… …………………… ……………………… …………………… …………………… …………………… ……………………… …………………… …………………… …………………… ……………………… …………………… …………………… …………………… ……………………… …………………… …………………… …………………… ……………… …………………… …………………… …………………… …………………… …………………… ……………………

23

ชื่อ…………………………………นามสกลุ ………………………….ชั้น..………เลขท…ี่ ........

บัตรกจิ กรรมชุดที่ 2 เรอ่ื ง การแบง่ ยุคสมยั ก่อนประวัติศาสตร์

คำชแ้ี จง : นักเรียนตอบคำถามและอธิบายการแบ่งยคุ สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ต่อไปน้ีใหถ้ กู ต้อง

1. นักเรียนอธบิ ายช่วงเวลาสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรว์ ่ามีลักษณะเปน็ อยา่ งไร เขียนอธิบาย มาพอเขา้ ใจ

…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนคดิ ว่าเวลากบั เหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตรม์ ีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..

3. ในสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรม์ ีหลักการแบง่ ยุคสมัยอยู่กี่ลักษณะ อะไรบา้ ง และนักเรยี น คดิ วา่ มีความสำคัญต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตร์อยา่ งไร

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

24

คำชแ้ี จง แบบทดสอบหลังเรียน

1. แบบทดสอบเปน็ ปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก มีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน 2. ใหน้ ักเรยี นทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบท่ีถูกต้องเพยี งคำตอบเดียว 3. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที

1. เรือ่ งราวสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ แรกเริม่ สุดเราจะคน้ พบหลักฐานตามข้อใด

ก. ใชส้ ีนำ้ เงินวาดภาพไวต้ ามฝาผนังถำ้ ข. นำหินมากะเทาะทำเป็นขวานหนิ

ค. รูจ้ ักนำกระดูกสตั วม์ าทำเครื่องประดับ ง. การประดิษฐ์เคร่ืองดนตรปี ระเภทกลอง

2. เวลามคี วามสำคญั ต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์อย่างไร ข. ทำให้ไดเ้ รื่องราวทเ่ี ปน็ ความจริงทง้ั หมด ก. ทำให้ได้ขอ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ ง ง. ทำใหท้ ราบความเก่าแกข่ องอารยธรรมของชาติ ค. ทำให้สามารถเชื่อมโยงเรื่องราวทีเ่ กดิ ข้ึนได้

3. มนุษยห์ ินรุ่นสุดท้ายท่ีมลี ักษณะเหมอื นมนษุ ยม์ ากท่ีสุดคือข้อใด

ก. มนุษยโ์ ครมนั ยอง ข. มนุษย์นแี อนเดอรธ์ ัล

ค. มนษุ ย์ลงิ ง. มนุษยช์ วา

4. สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์แบ่งออกเป็นยุคใดบา้ ง ข. ยคุ หนิ ยคุ สำรดิ ก. ยคุ หินเก่า ยคุ หินใหม่ ง. ยคุ หนิ ยคุ โลหะ ค. ยคุ เหลก็ ยุคโลหะ

5. ชุมชนโบราณสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นภาคกลางของประเทศไทยส่วนใหญจ่ ะพบอยู่บริเวณใด

ก. บรเิ วณตอนเหนอื และตอนใต้ ข. บรเิ วณตะวันออกและตะวันตก

ค. บรเิ วณตะวันตกเฉียงเหนือ และตะวนั ตกเฉียงใต้ ง. บรเิ วณตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

6. นักประวัติศาสตรใ์ ช้เกณฑ์อะไรแบง่ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตรแ์ ละสมัย

ประวตั ิศาสตร์

ก. การตง้ั ถนิ่ ฐาน ข. เครื่องมือเครื่องใช้

ค. ตำนานหรือภาพถ่าย ง. หลักฐานทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อักษร

7. ข้อใดจดั วา่ เป็นวัฒนธรรมก้าวแรกของมนษุ ย์ในยุคกอ่ นประวัติศาสตร์

ก. การสร้างบา้ น ข. การเล้ียงสัตว์

ค. การเพาะปลูก ง. การใชไ้ ฟ

25

8. สงิ่ ใดที่ใช้เปน็ ตัวแบ่งระหว่างยุคสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์และยคุ สมัยประวตั ศิ าสตร์

ก. การมีเหล็กใช้ในการผลิตเครือ่ งมือเคร่ืองใช้ ข. การเกิดสงครามโลก

ค.การทมี่ นุษย์รจู้ กั การประดิษฐอ์ ักษรขน้ึ ใช้ ง. การท่ีมนษุ ยร์ จู้ ักการเพาะปลูก

9. ในประเทศไทย พบหลักฐานของมนุษย์ยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตรย์ คุ ใดบ้าง

ก. ยุคหนิ เกา่ ข. ยคุ หนิ ใหม่

ค. ยคุ สำรดิ ง. ถูกท้งั ข้อ ก ข และ ค

10. สถานที่ใดท่ีมีการขุดค้นพบเครอ่ื งป้นั ดินเผาลายเขยี นสีทีส่ วยงาม และเคร่ืองมือเครือ่ งใช้ทท่ี ำดว้ ยสำรดิ

เชน่ กำไลหนิ แหวนและลกู ปัด

ก. หนองโน จังหวดั ชลบุรี ข. ถำ้ ผีและถำ้ พระ

ค. บ้านเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี ง. บ้านเกา่ จงั หวดั กาญจนบรุ ี

26

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ (ยุคสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย () ลงในช่องใหต้ รงกับขอ้ ทน่ี ักเรียนเลือกตอบ

ชอื่ ……………………………………นามสกุล…………………………………ชัน้ …………เลขท…่ี …..

ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รวมคะแนนท่ไี ด้

ภาคผนวก

คำชี้แจง เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

1. แบบทดสอบเป็นปรนยั แบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก มีจำนวน 10 ขอ้ 10 คะแนน 2. ใหน้ ักเรยี นทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบท่ีถกู ตอ้ งเพยี งคำตอบเดยี ว 3. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที

1. เวลามคี วามสำคัญต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์อย่างไร ข. ทำใหไ้ ด้เร่ืองราวทีเ่ ป็นความจริงทงั้ หมด ก. ทำให้ได้ข้อมูลทีถ่ ูกต้อง ง. ทำใหท้ ราบความเก่าแกข่ องอารยธรรมของชาติ ค. ทำใหส้ ามารถเช่ือมโยงเรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขึ้นได้

2. เร่อื งราวสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ แรกเรม่ิ สดุ เราจะคน้ พบหลกั ฐานตามข้อใด

ก. ใช้สนี ้ำเงนิ วาดภาพไว้ตามฝาผนังถ้ำ ข. นำหินมากะเทาะทำเปน็ ขวานหิน

ค. ร้จู กั นำกระดูกสัตวม์ าทำเครอ่ื งประดับ ง. การประดิษฐเ์ คร่ืองดนตรปี ระเภทกลอง

3. สิง่ ใดท่ีใช้เปน็ ตวั แบง่ ระหว่างยุคสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์และยคุ สมัยประวัตศิ าสตร์

ก. การมีเหล็กใชใ้ นการผลิตเครือ่ งมือเคร่ืองใช้ ข. การเกิดสงครามโลก

ค.การท่มี นุษยร์ ู้จกั การประดิษฐอ์ กั ษรขึน้ ใช้ ง. การที่มนษุ ยร์ ้จู ักการเพาะปลกู

4. สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์แบ่งออกเป็นยุคใดบา้ ง ข. ยุคหนิ ยคุ สำริด ก. ยุคหินเก่า ยคุ หินใหม่ ง. ยุคหิน ยุคโลหะ ค. ยคุ เหล็ก ยุคโลหะ

5. ขอ้ ใดจัดว่าเป็นวฒั นธรรมก้าวแรกของมนษุ ย์ในยคุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์

ก. การสรา้ งบ้าน ข. การเลย้ี งสัตว์

ค. การเพาะปลูก ง. การใช้ไฟ

6. นักประวัตศิ าสตร์ใชเ้ กณฑ์อะไรแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรอ์ อกเป็นสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์และสมัย

ประวัติศาสตร์

ก. การตงั้ ถ่ินฐาน ข. เครือ่ งมือเครื่องใช้

ค. ตำนานหรอื ภาพถ่าย ง. หลักฐานทเี่ ปน็ ลายลักษณ์อักษร

7. ในประเทศไทย พบหลักฐานของมนษุ ย์ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ยุคใดบ้าง

ก. ยุคหินเกา่ ข. ยคุ หินใหม่

ค. ยคุ สำรดิ ง. ถกู ทัง้ ข้อ ก ข และ ค

8. มนุษยห์ นิ รนุ่ สดุ ทา้ ยที่มีลักษณะเหมือนมนุษยม์ ากทสี่ ุดคือข้อใด

ก. มนุษยโ์ ครมันยอง ข. มนษุ ยน์ แี อนเดอร์ธลั

ค. มนษุ ยล์ ิง ง. มนษุ ยช์ วา

9. ชมุ ชนโบราณสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ในภาคกลางของประเทศไทยส่วนใหญ่จะพบอยูบ่ ริเวณใด

ก. บรเิ วณตอนเหนอื และตอนใต้ ข. บริเวณตะวนั ออกและตะวันตก

ค. บรเิ วณตะวนั ตกเฉยี งเหนอื และตะวันตกเฉยี งใต้ ง. บริเวณตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

10. สถานที่ใดที่มีการขุดคน้ พบเคร่ืองปน้ั ดินเผาลายเขียนสีทสี่ วยงาม และเคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ท่ที ำดว้ ยสำรดิ

เชน่ กำไลหิน แหวนและลูกปัด

ก. หนองโน จังหวัดชลบรุ ี ข. ถ้ำผแี ละถ้ำพระ

ค. บา้ นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี ง. บ้านเกา่ จงั หวัดกาญจนบุรี

กระดาษคำตอบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ (ยคุ สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย () ลงในช่องใหต้ รงกบั ขอ้ ท่ีนักเรยี นเลอื กตอบ

ช่ือ……………………………………นามสกลุ …………………………………ชัน้ …………เลขท…่ี …..

ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 

รวมคะแนนทไ่ี ด้

ชือ่ …………………………………นามสกลุ ………………………….ชนั้ ..………เลขท…่ี ........

เฉลยบัตรกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การแบง่ ยุคสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ : นกั เรยี นอธบิ ายการแบ่งยุคสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ได้ คำชี้แจง : นักเรยี นอธิบายการแบ่งยคุ สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

การแบ่งชว่ งเวลาสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์

แบ่งตามเทคโนโลยกี ารทำเครื่องมือเคร่ืองใช้ แบ่งตามลักษณะการดำรงชวี ิตของผคู้ น

ยุคหนิ ยุคโลหะ ยุคล่าสัตว์ ยคุ สงั คมเกษตรกกรม ยคุ สงั คมเมอื ง

แบ่งออกเปน็ ยึดถือเอาชนดิ ของ มนษุ ย์ลา่ สตั ว์ มนษุ ย์รู้จกั การดำรงชพี ชว่ งทช่ี ุมชนพฒั นา ยุคหินเก่า โลหะมาเปน็ เกณฑใ์ น เกบ็ หาอาหาร ยุคหินกลาง การแบ่ง ไมม่ ีที่พักแนน่ อน ดว้ ยการเพาะปลูก เป็นสงั คมเมอื ง ยุคหนิ ใหม่

ชอ่ื …………………………………นามสกลุ ………………………….ชนั้ ..………เลขท…่ี ........

เฉลยบตั รกจิ กรรมชดุ ท่ี 2 เรือ่ ง การแบ่งยุคสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์

คำชแี้ จง : นักเรยี นตอบคำถามและอธิบายการแบ่งยคุ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ต่อไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง

2. นักเรยี นอธบิ ายช่วงเวลาสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตรว์ า่ มลี กั ษณะเป็นอย่างไร เขียนอธบิ าย มาพอเขา้ ใจ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ เปน็ สมยั ทม่ี นษุ ยย์ งั ไม่มีการประดิษฐต์ ัวอกั ษรขนึ้ ใช้ การศึกษา

เรื่องราวของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐาน โบราณคดีตา่ ง ๆ ได้แก่เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ โครงกระดูก งานศลิ ปะ เปน็ ตน้

2. นักเรียนคดิ ว่าเวลากบั เหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์มคี วามสัมพนั ธก์ นั อย่างไร เวลาเป็นตัวบอกว่าเหตุการณ์น้ันเกดิ ขึ้นเมือ่ ไหร่และแต่ละเหตุการณ์จะแตกต่างกนั ไปตาม

เวลา และเวลามปี ระโยชน์ในการศึกษาเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรใ์ ห้เข้าใจและชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ

3. ในสมัยก่อนประวัตศิ าสตรม์ ีหลักการแบ่งยุคสมัยอยู่กลี่ กั ษณะ อะไรบ้าง และนักเรยี น คดิ ว่ามีความสำคัญต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์อยา่ งไร

แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ แบ่งยุคสมัยตามชนิดของวัสดุที่นำมาใช้ทำเครื่องมือเคร่อื งใช้ และการแบ่งยุคสมัยตามวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ และมีความสำคัญต่อการศึกษา ประวตั ิศาสตรค์ ือทำให้เกิดความเข้าใจการเปล่ยี นแปลงทีเ่ กิดขึ้น

คำช้ีแจง เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

1. แบบทดสอบเป็นปรนัยแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก มจี ำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน 2. ให้นกั เรยี นทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบที่ถูกตอ้ งเพยี งคำตอบเดียว 3. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที

1. เร่อื งราวสมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ แรกเริ่มสุดเราจะคน้ พบหลกั ฐานตามข้อใด

ก. ใชส้ นี ้ำเงินวาดภาพไว้ตามฝาผนงั ถำ้ ข. นำหินมากะเทาะทำเปน็ ขวานหิน

ค. ร้จู กั นำกระดูกสัตวม์ าทำเครือ่ งประดับ ง. การประดิษฐ์เคร่ืองดนตรีประเภทกลอง

2. เวลามีความสำคญั ต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตรอ์ ย่างไร ข. ทำใหไ้ ด้เรื่องราวที่เป็นความจรงิ ทั้งหมด ก. ทำใหไ้ ด้ข้อมลู ที่ถูกต้อง ง. ทำให้ทราบความเก่าแก่ของอารยธรรมของชาติ ค. ทำใหส้ ามารถเชื่อมโยงเร่อื งราวทเี่ กิดขนึ้ ได้

3. มนษุ ย์หินรนุ่ สดุ ท้ายทีม่ ีลักษณะเหมือนมนุษยม์ ากทส่ี ุดคือข้อใด

ก. มนุษย์โครมันยอง ข. มนุษยน์ แี อนเดอรธ์ ัล

ค. มนุษย์ลิง ง. มนุษย์ชวา

4. สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตรแ์ บ่งออกเปน็ ยคุ ใดบา้ ง ข. ยุคหนิ ยุคสำริด ก. ยุคหินเกา่ ยคุ หนิ ใหม่ ง. ยคุ หิน ยคุ โลหะ ค. ยุคเหล็ก ยคุ โลหะ

5. ชุมชนโบราณสมยั กอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นภาคกลางของประเทศไทยสว่ นใหญ่จะพบอยู่บรเิ วณใด

ก. บริเวณตอนเหนอื และตอนใต้ ข. บริเวณตะวันออกและตะวันตก

ค. บรเิ วณตะวันตกเฉยี งเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ ง. บรเิ วณตะวันออกเฉียงเหนือ

6. นกั ประวัติศาสตร์ใชเ้ กณฑ์อะไรแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเปน็ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตรแ์ ละสมัย

ประวตั ศิ าสตร์

ก. การต้ังถน่ิ ฐาน ข. เครือ่ งมือเครื่องใช้

ค. ตำนานหรือภาพถ่าย ง. หลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร

7. ข้อใดจัดวา่ เปน็ วัฒนธรรมก้าวแรกของมนษุ ย์ในยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์

ก. การสร้างบ้าน ข. การเล้ียงสตั ว์

ค. การเพาะปลกู ง. การใช้ไฟ

8. สงิ่ ใดท่ีใชเ้ ป็นตวั แบ่งระหว่างยุคสมยั ก่อนประวัติศาสตร์และยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์

ก. การมเี หล็กใชใ้ นการผลติ เครอ่ื งมือเครื่องใช้ ข. การเกดิ สงครามโลก

ค.การทม่ี นุษย์รู้จักการประดิษฐอ์ กั ษรข้นึ ใช้ ง. การท่ีมนุษย์รู้จักการเพาะปลูก

9. ในประเทศไทย พบหลกั ฐานของมนุษย์ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตรย์ คุ ใดบ้าง

ก. ยคุ หินเก่า ข. ยคุ หนิ ใหม่

ค. ยุคสำรดิ ง. ถูกทัง้ ข้อ ก ข และ ค

10. สถานท่ีใดที่มกี ารขุดคน้ พบเครอ่ื งป้นั ดนิ เผาลายเขยี นสีท่สี วยงาม และเครื่องมอื เครอ่ื งใชท้ ที่ ำดว้ ยสำรดิ

เชน่ กำไลหนิ แหวนและลูกปัด

ก. หนองโน จังหวดั ชลบุรี ข. ถำ้ ผีและถำ้ พระ

ค. บา้ นเชยี ง จงั หวัดอดุ รธานี ง. บ้านเก่า จงั หวดั กาญจนบรุ ี

กระดาษคำตอบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (ยุคสมัยกอ่ นประวัติศาสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย () ลงในช่องใหต้ รงกบั ขอ้ ท่ีนกั เรยี นเลอื กตอบ

ช่ือ……………………………………นามสกลุ …………………………………ชั้น…………เลขท…ี่ …..

ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 

รวมคะแนนทไ่ี ด้

กวิฎ ตั้งจรสั วงศ์. (2550). พัฒนาการของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์: สำนักพิมพ์ Bootcampdemy

วัลลภา รงุ่ ศริ ิแสงรัตน.์ (2552). สมัยกอ่ นประวัติศาสตรข์ องไทย: โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ไพฑูรย์ มกี ศุ ล. (2551). ประวัตศิ าสตร์ ม.1 (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกัด

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้