กฏของไตรล กษณ ม ความสำค ญก บว นสำค ญทางพระพ ทธศาสนาว นใด

หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา โดย นางสาวพรชติ า วรรณพนั ธ์

คำนำ

พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนานและเป็ น สภาพแวดล้อมที่ครอบคลุมสัคมไทยอย่างกว้างขวาง ด้วยสภาพสังคมไทยที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมทั้งเทคโนโลยีและวัตถุนิยมที่เข้ามามีบทบาทต่อการ ดาเนินชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะวัยของนักเรียนซึ่งยังเป็นเยาวชน ก็มีสิ่งเย้า ยวนตา่ ง ๆ ผ่านเขา้ มาในชีวิตของเราอยู่ไม่น้อย จึงจาเป็นต้องมีภมู คิ ุ้มกันให้สามารถดาเนิน ชีวิตประจาวันได้อย่างเป็นปกติสุข และเติบโตเป็นบุคคลที่ถึงพร้อมด้วยความ รู้ ความสามารถ เป็นคนดี มคี ณุ ธรรม และใชช้ วี ิตอย่างมีความสุข

หนังสือE-bookนี้มีเนื้อหาสาระว่าด้วยหลักธรรมที่สาคัญทางพระพุทธศาสนา พระ รัตนตรัย สังฆคุณ อริยสจั ๔ ขันธ์ ๕ ไตรลักษณ์ วัฏฏะ ๓ ปปัญจธรรม ๓ มรรค ๘

ซึ่งในการจัดการเรียนการสอน นอกจากภาคความรู้ที่นักเรียนจะต้องศึกษาจาก หนังสอื เรียนแล้ว ครผู สู้ อนจะตอ้ งจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ตั จิ ริงดว้ ย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการนาหลักธรรมมาใช้ หรือการฝึกสมาธิ ซึ่งก็จะช่วยให้นักเรียนได้เข้าใจและเห็น ถึงความสาคัญของพระพทุ ธศาสนามากขึ้น

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือE-bookจะช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการเรียน การสอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และช่วยให้นักเรียนมีคุณภาพ และมีความสงบสุขอันเป็น แนวทางในการสง่ เสริมพระพทุ ธศาสนาให้ดารงมนั่ คงสืบไป

พรชติ ำ วรรณพนั ธ์ ๓ ตลุ ำคม ๒๕๖๔

สารบญั ๑ ๒ คำนำ ๓ สำรบญั ๔ หลักธรรมทำงพระพทุ ธศำสนำ ๗ ๙ พระรัตนตรัย ๑๒ สังฆคณุ ๙ ๑๖ อรยิ สจั ๔ ๒๐ ทกุ ข์ (ธรรมท่คี วรรู้) ๒๑ สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) ๒๒ นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) เสริมสำระ สรุป อ้ำงองิ ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนามีองค์ประกอบสาคัญ ๓ ประการ คือพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ พระพุทธเจ้าทรงค้นพบหลักธรรมซึ่งเป็นความจริงอันประเสริฐ โดยมี พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่หลักธรรมคาสอน จึงกล่าวได้ว่าพระธรรมเป็น องค์ประกอบสาคัญของพระพุทธศาสนา นั่นคือพระธรรมเป็นตัวแทนของ พระพุทธเจ้าน่นั เอง

ดังนั้น พุทธศาสนิกชนจึงควรศึกษาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาให้ เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถนาไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ ได้ ถูกตอ้ ง อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคมส่วนรวม

พระรัตนตรัย

พระรตั นตรยั

พระพุทธศาสนามีองค์ประกอบที่สาคัญ ๓ ประกำร คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งทุกองค์ประกอบล้วนมีความสาคัญ ที่มีส่วนเกื้อกูลกัน ขาดสิ่งใดสิ่ง หนึ่งเสียมิได้หากไม่มีพระพุทธก็ไม่มีผู้ตรัสรู้ในพระธรรมหากไม่มีพระธ รรมก็ไม่อาจมี พระพุทธและหากไม่มีพระสงฆ์ พระธรรมคาสอนก็คงไม่ดารงอยู่สืบทอดมาจนถึงวุ่น เราเกือบ ๓,๐๐๐ ปี พระธรรมจึงยังคงมีอยู่ ทั้ง ๓ จึงมีความสาคัญ จึงได้ชื่อว่าเป็น "พระรตั นตรยั "

ควำมหมำยของพระรัตนตรยั

พระพุทธศาสนามอี งค์ประกอบ ๓ ประการ คอื พระรัตนตรัย ซ่งึ แปลวา่ แกว้ ประเสริฐ ๓ ดวง อันไดแ้ ก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์

พระพุทธ หมายถึง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ซึ่งทรงเป็นศาสดาของ ศาสนา คือเป็นผทู้ รงค้นพบสจั ธรรมโดยการตรสั รเู้ องและสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม

พระธรรม หมายถึง คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งที่เป็นคาอธิบายเกี่ยวกับ ความเปน็ จริงของชวี ิตมนุษยแ์ ละเป็นคาสั่งสอนใหม้ นษุ ย์ปฏบิ ัติดีต่อกัน

พระสงฆ์ หมายถงึ หมสู่ าวกทศี่ ึกษาและปฏบิ ตั ิตามคาสั่งสอนของพระพทุ ธเจ้า และเผยแผค่ าสอนใหแ้ กค่ นทว่ั ไป

ที่มำ ://shutr.bz/3AukohZ ท่มี ำ ://bit.ly/3aprjhQ ท่มี ำ ://bit.ly/2YHe4H7

พระพุทธเจ้ามีคุณลักษณะ๙ ประการ เรียกว่า “พุทธคุณ๙” พระธรรมมี คุณลักษณะ ๖ ประการ เรียกว่า “ธรรมคุณ ๖” พระสงฆ์มีคุณลักษณะ ๙ ประการ เรยี กวา่ “สงั ฆคุณ ๙” ซงึ่ ในทน่ี จี้ ะกล่าวถงึ สงั ฆคุณ ๙ ดังน้ี

ทีม่ า ://bit.ly/3lxrbmE

๑. ปฏิปันโน : เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว คือ ปฏิบัติถูกทาถูกวินัยหรือปฏิบัติตาม แนวทางแห่งอริยมรรคมอี งค์ ๘

๒. อุชุปฏิปันโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว คือ ไม่เป็นคนเจ้าเล่ห์หลอกลวงไม่คด โกงปากกับใจตรงกนั ไม่พดู เท็จเพื่อรักษาผลประโยชนต์ นหรือเบยี ดเบียนคนอื่น

๓. ญำยปฏิปันโน เป็นผู้ฏิบัติเป็นธรรม หรือปฏิบัติถูกทาง เพื่อให้เกิดความรู้ เห็นสภาวะทงั้ หลายตามความเป็นจรงิ

๔. สำมีจิปฏิปันโน เป็นผู้ปฏิบัติสมควร คือควรแก่การกราบไหว้ กล่าวโดย ใจความกค็ ือ “ทำควำมดเี พ่อื ควำมดนี ่ันเอง”

๕. อำหุเนยโย เป็นผู้ควรของคำนับ กล่าวคือ มนุษย์ที่อยู่ร่วมกันไม่ว่าในสังคม ใดย่อมมบี ุคคลท่ีมวี ยั วฒุ ิ คุณวุฒิ และชาตวิ ฒุ ิ ท่เี ป็นท่เี คารพนับถือของคนอน่ื

๖. ปำหุเนยโย เป็นผู้ควรแก่เครื่องสักกำระที่จัดไว้ต้อนรับ กล่าวคือ เวลาที่มี คนมาเยี่ยมถึงบ้านเจ้าของบ้านย่อมยินดีต้อนรับ นาเครื่องดื่ม ของขบเคี้ยว มาให้ เรียกวา่ “ของตอ้ นรับ” (ปาหุนะ)

๗. ทักขิเนยโย เป็นผู้่ควรแก่ของทำบุญรับทักษิณำทำน วัตถุสิ่งของที่ถวายแด่ พระสงฆ์เรียกว่า ”ทกั ษิณา”ของทาบญุ

๘. อัญชลิกรณีโย เป็นผู้ควรทำอัญชลีกรำบไหว้ได้สนิทใจ คือการที่ใครๆ จะ ยกมือไหว้ (อญั ชลีกรรม)

๙. อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ เป็นนำบุญของโลก คือ เป็นผู้ควรแก่ ทานอันนามาถวายยอ่ มได้ผลานิสงสม์ ากเพราะเป็นผปู้ ระกอบด้วยมศี ีลาจารวตั รงดงาม

อริยสัจ ๔

อริยสัจ ๔ อันเป็นหลักคาสอนสาคัญของพระพุทธศาสนาอาจเรียกว่าเป็นหัวใจ ของพระพุทธศาสนาก็ว่าได้ อริยสจั ๔ ประกอบดว้ ย ทกุ ข์ สมทุ ัย นโิ รธ มรรค

มรรค ทุกข์ (วิธแี กป้ ญั หำ) (ปญั หำ)

นโิ รธ สมทุ ยั (กำรแกป้ ญั หำ) (สำเหตขุ องปญั หำ)

ทุกข์ (ธรรมที่ควรร)ู้

ทุกข์ คือความจริงว่าด้วยทุกข์ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ หลักธรรมที่ควรรู้ เพ่อื ใหร้ ู้ความจรงิ ของการเกิดทุกข์ได้แก่

ขันธ์๕ การที่จะดับทุกข์ที่เกิดขึ้นกับชีวิตได้ต้องรู้ว่าชีวิตมีลักษณะ

อยา่ งไรในทางพระพทุ ธศาสนา ชีวิตประกอบด้วยองค์ประกอบ ๕ อย่างเรียกว่า ขันธ์๕ อันไดแ้ ก่

รูป เวทนำ

วญิ ญำณ สัญญำ

สังขำร

รูป หมายถึง ส่วนที่เป็นร่างกาย รวมถึงพฤติกรรมทั้งหมดของร่างกายด้วย เช่น การหมุนเวียนโลหิต การหายใจ การเตบิ โตของรา่ งกาย เปน็ ต้น

เวทนำ ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงความสงสารที่ใช้กันทั่วไปแต่หมายถึงความรู้สึกท่ี เกิดขนึ้ ตอ่ สง่ิ ทีร่ บั รู้นั้นเวทนามีอยู่ ๓ อย่างคือ ความรู้สึกสบายใจ ความรู้สึกไม่สบายใจ และความร้สู ึกเฉยๆ

สัญญำ ในที่นี้ไม่ได้แปลว่าคามั่นสัญญาดังในภาษาสามัญ แต่หมายถึงการ กาหนดหมายรู้สิง่ ใดส่ิงหนึง่ การแยกแยะไดว้ า่ อะไรเปน็ อะไร

สังขำร หมายถึง ส่วนที่เป็นการคิดปรุงแต่ง โดยสามารถแยกแยะสิ่งที่รู้สึกหรือ จดจาได้

วิญญำณ หมายถึง เป็นการรู้แจ้งถึงสิ่งต่างๆ ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๕ และใจ ได้แก่ ทางตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ

ไตรลกั ษณ์ เป็นธรรมะที่ทาให้เป็นพระอริยะ (อริยกรธรรม) แปลว่า ลักษณะ

๓ ประการ หมายถึงสามัญลักษณะ คือ กฎธรรมดาของสรรพสิ่งทั้งปวง อันได้แก่ อนิจจลักษณะ ลักษณะไม่เที่ยง มีการแปรเปลี่ยนไปเป็นธรรมดา ทุกขลักษณะ ลกั ษณะทนอย่ตู ลอดไปไมไ่ ด้ ถกู บบี ค้นั ดว้ ยอานาจของธรรมชาติทาให้ทุกสิง่ ไม่สามารถ ทนอยู่ในสภาพเดิมได้ตลอดไป และ อนัตตลักษณะ ลักษณะไม่สามารถบังคับบัญชาให้ เป็นไปตามต้องการได้ เช่น ไม่สามารถบังคับให้ชีวิตยั่งยืนอยู่ได้ตลอดไป ไม่สามารถ บังคบั จติ ใจใหเ้ ปน็ ไปตามปรารถนา ความมิใช่ตวั ตน เป็นตน้ ไตรลักษณ์ คอื การเกิดขึ้น ตัง้ อยู่ และ ดับไป ทุกสงิ่ ในโลกนี้ ล้วนแล้วอยู่ใน กฎไตรลกั ษณ์

ไตรลักษณ์ แปลว่า "ลักษณะ ๓ อย่าง" หมายถึงสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่ เสมอกัน หรือข้อกาหนด หรือสิ่งที่มีประจาอยู่ในตัวของสังขารทั้งปวงเป็ นธรรมที่ พระพุทธเจา้ ไดต้ รสั รู้ ๓ อย่าง ได้แก่

ท่มี ำ ://bit.ly/3Aw0YcC

อนิจจตำ (อนิจจลักษณะ) อาการไม่เที่ยง อาการไม่คงที่ อาการไม่ยั่งยืน อาการ ทเี่ กิดขน้ึ แล้วเส่อื มและสลายไป อาการทแี่ สดงถึงความเป็นสง่ิ ไมเ่ ที่ยงของขนั ธ์

ทุกขตำ (ทุกขลักษณะ) อาการเป็นทุกข์ อาการที่ถูกบีบคั้นด้วยการเกิดขึ้นและ สลายตัว อาการที่กดดัน อาการฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัว เพราะปัจจัยที่ปรุงแ ต่งให้มี สภาพเปน็ อยา่ งนนั้ เปลี่ยนแปลงไป จะทาให้คงอยู่ในสภาพนั้นไม่ได้ อาการที่ไม่สมบูรณ์ มีความบกพรอ่ งอยู่ในตัว อาการทีแ่ สดงถงึ ความเป็นทกุ ข์ของขนั ธ์

อนตั ตตำ (อนัตตลกั ษณะ) อาการของอนัตตา อาการของสิ่งทีไ่ ม่ใช่ตัวตน อาการ ที่ไม่มีตัวตน อาการที่แสดงถึงความไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ของใคร ไม่อยู่ในอานาจควบคุมของ ใคร อาการที่แสดงถึงไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมันเอง อาการที่แสดงถึงความไม่มีอานาจ แท้จริงในตัวเลย อาการที่แสดงถึงความด้อยสมรรถภาพโดยสิ้นเชิง ไม่มีอานาจกาลัง อะไร ตอ้ งอาศัยพงึ่ พิงสง่ิ อืน่ ๆ มากมายจงึ มีขึ้นได้

สมุทัย (ธรรมทคี่ วรละ)

สมุทัย คอื สาเหตุแห่งการเกิดความทุกข์หลักธรรมทคี่ วรละเพื่อไม่ใหเ้ กิดทกุ ข์ ไดแ้ ก่

หลักกรรม (วัฏฏะ ๓) พระพทุ ธศาสนาสอนเร่ือง “สังสำรวฏั ” คอื การเวยี น

ว่ายตายเกิด มนษุ ยป์ ถุ ุชนท่ียงั มกี เิ ลสอยู่เมื่อตายไปแล้วตอ้ งเกดิ ใหมใ่ นภพใดพบหน่งึ เม่อื ตายในภพใหม่ก็ต้องไปเกิดอีกหากยังมีกเิ ลสอยูจ่ ะเปน็ เช่นนไี้ ปเรอื่ ยเรือ่ ยจนกว่าจะ หลดุ พ้นจากกเิ ลสไดห้ มดสนิ้

วัฏฏะ แปลว่า “วน” หรอื “วงกลม “ มี ๓ อยา่ ง คือ • กิเลสวฏั ฏะ หรอื เรยี กวา่ กิเลส • กรรมวัฏฏะ หรอื เรยี กวา่ กรรม • วิบำกวฏั ฏะ หรอื เรียกวา่ วิบาก

ทม่ี ำ ://bit.ly/3BrPwQx

ตัวอย่ำงเชน่ นาย ก ชอบเลน่ การพนันเป็นหนเ้ี ขาและถูกเจ้าหน้าหนี้ขู่จะทาร้าย จึง คิดจะทาการทุจริตที่เรียกว่า กิเลสเกิดขึ้น ไตร่ตรองอยู่นานในที่สุดก็ลงมือ ทาการทุจริต ตามทค่ี ิดไวน้ ้ี เรยี กว่า กรรม ถูกเขาจับไดแ้ ละถูกไล่ออกจากงาน นี่คือ วิบาก เมื่อไม่มีงานไม่ มีเงินก็คดิ ท่ีจะทาการทุจริตอกี กเ็ กดิ กิเลสข้นึ อีก วนเวยี นเชน่ นี้ไปเรื่อยๆ

ปปัญจธรรม ๓ คือ เครื่องทาให้เนิ่นช้า อันหมายถึง กิเลสที่ทาให้การศึกษา

และปฏิบตั ติ ามพุทธธรรมไมด่ าเนินไปดว้ ยดี มีอยู่ ๓ ประการ ดงั นี้

ทม่ี ำ ://bit.ly/3ayzwQJ

ตันหำ คือ ความเห็นแก่ตัวมีความโลภอยากได้ของผู้อื่นโดยมิชอบจะทาอะไรก็ คดิ ถึงแตป่ ระโยชน์ของตน

ทีม่ ำ ://bit.ly/3DrUz47

มำนะ คือ ความถือตัว ทนงตัว สาคัญตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่ คิดว่าตนเองเหนือกว่า เด่นกวา่ ผู้อื่น แสดงตนข่มขูผ่ ู้อืน่ คดิ ว่าตัวเองดที ี่สดุ

ท่ีมำ ://bit.ly/2YBofgx

ทิฏฐิ คือ ความยึดติดในความเห็นของตน งดงายโดยปราศจากเหตุผลไม่ยอมรับ ฟังความเห็นของผู้อื่น คลั่งไคล้ในความเชื่อ ลัทธิ ทฤษฎี หรืออุดมการณ์ต่างๆ โดย ปราศจากการไตร่ตรองคิดวา่ ความเชอ่ื ของตนเองถกู เสมอ

นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ

นโิ รธ คือ ความดบั ทกุ ข์ หลักธรรมทีค่ วรบรรลเุ พื่อดบั ทกุ ข์ให้แก่ อตั ถะ

อัตถะ คือ "ประโยชน์หรือจุดหมาย" ในที่นี้หมายถึง คุณประโยชน์ของการ

ปฏบิ ตั ิตามพระธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจา้ ถ้าจะถามว่า พระธรรมมีคุณประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติอย่างไร คาตอบที่สั้นและ

ครอบคลุมความทสี่ ดุ กค็ ือ "พระธรรมยอ่ มรักษำผู้ปฏิบัติมิให้ตกไปในที่ชั่ว" คาว่า "ไม่ ตกไปในที่ชั่ว" ในที่นี้ขยายความว่า ประสบความสุข ความเจริญในชีวิต ทั้งในระดับ ตน้ ๆ และระดับสงู สดุ ทง้ั นข้ี น้ึ อยู่กบั วา่ ผ้ปู ฏบิ ัตไิ ดป้ ฏิบัติตามธรรมข้อใดถึงขั้นใด เพราะ พระธรรมของพระพุทธเจ้ามีหลายระดับตั้งแต่ธรรมขั้นพื้นฐานเพื่อชี้นาแน วทางการ ดารงชีวิตที่ดีของผู้ที่ยังอยู่ในเพศคฤหัสถ์ ยังต้องการความสุขความสาเร็จทางโลก จนกระทั่งธรรมขัน้ สูงอันเปน็ หลกั ปฏิบตั เิ พ่ือพ้นทุกข์อยา่ งแท้จริง

เมอื่ พดู แล้ววา่ สงิ่ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ สอน คือ ความจริงที่เป็นประโยชน์ ใช้แก้ทุกข์ได้ นาไปสู่จุดหมาย ก็ควรจะพูดถึงประโยชน์และจุดหมายด้วย ลักษณะทั่วไปของพุทธ ศาสนาประการหนึ่ง ก็คือเป็นเรื่องของการดาเนินชีวิต หรือหลักการและวิธีปฏิบัติเพื่อ เข้าสู่จุดหมาย ทีนี้ จุดหมายในทางพระพุทธศาสนาเราก็เรียนกันมาว่ามี ๓ ประการ เรียกว่า อัตถะ อัตถะ ๓ ประการ น้ี ถ้าจะแบง่ ตามระดับก็คงจะไดเ้ ป็น ๓ อยา่ ง คือ

ทฏิ ฐธัมมิกัตถะ คอื ประโยชนป์ ัจจบุ นั สมั ปรำยิกัตถะ คือ ประโยชน์เบือ้ งหน้า ปรมตั ถ์ หรือ ปรมัตถะ คือ ประโยชน์อย่างสูงสดุ

๑๐

ทฏิ ฐธมั มิกัตถะ ก็คือ ประโยชน์ปัจจุบัน หรือประโยชน์อย่างที่เห็นๆ เพราะทิฏฐ ธัมมะ แปลว่า เรื่องที่เห็นๆ กันอยู่ เรื่องที่มองเห็นได้ในแง่กาละ ก็คือปัจจุบัน หรือถ้า พูดในแง่ของเรอ่ื งราวกค็ ือเร่ืองทั่วๆ ไป เรื่องการดาเนินชีวิต การเป็นอยู่ที่ปรากฏ เรื่อง ทางวัตถุที่เห็นกันได้ สภาพภายนอก เช่น การมีปัจจัย ๔ มีอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่ อาศัย มีฐานะ มีลาภ มีเกียรติ มียศ มีสรรเสริญ เรื่องชีวิตคู่ครอง ความมีมิ ตรไมตรี อะไรต่างๆ ในชีวิตปัจจุบันนี้ ในชีวิตที่มองเห็นๆ กันอยู่ นี้เป็นประโยชน์ปัจจุบัน ซึ่ง พระพุทธศาสนาก็สอน ว่าเป็นจุดหมายประการหนึ่งในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ หรือ การปฏบิ ตั ิตามธรรมในพระพุทธศาสนา

สัมปรำยิกัตถะ ก็คือ ประโยชนท์ ่เี ลยออกไปหรือตอ่ ออกไป สัมปราย แปลว่า เลย ออกไป ก็หมายถึงเบื้องหน้า เลยออกไปไกลๆ ก็คือ ภพหน้า ชาติหน้า จะไปเกิดที่ดีๆ ไม่ไปเกิดที่ชั่วๆ นี่เป็นประโยชน์หรือเป็นจุดหมายขั้นสัมปรายะ หรือถ้าไม่มองไกลมาก อย่างนั้น ก็ได้แก่สิ่งที่เป็นหลักประกันชีวิตในเบื้องหน้าหมายถึงสิ่งที่ลึกเข้าไปทางจิตใจ คือ พ้นจากเรื่องทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การมีฐานะ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ชั้นภายนอกแล้วก็มาถึงเรื่องจิตใจ เรื่องคุณธรรมต่างๆ การที่จะมีจิตใจที่สุขสบาย ซึ่ง ท่านบอกว่าต้องมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ มีศรัทธา มีความประพฤติซึ่งทาให้มั่นใจตนเอง มี ศีล มีจาคะ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีสุตะ มีความรู้ได้เล่าเรียนศึกษาและมีปัญญา มี ความเข้าใจรู้จักสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง อะไรพวกนี้ นี้เป็นสิ่งที่ลึกซึ้งเข้าไปใน จิตใจ ซึ่งเมื่อมีแล้วก็เป็นเครื่องรับประกันชีวิตในเบื้องหน้าได้ทีเดียวว่า คติชีวิตจะ เปน็ ไปในทางท่ีดี นี้กเ็ ปน็ จุดหมายประการหนึ่งในทางพุทธศาสนา ยกตัวอย่างเรื่องพระ เจ้าปเสนทิโกศล สมัยหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศล ทางเสวยมากจนกระทั่งอ้วนอึดอัด พระพุทธเจ้าก็ทรงตักเตือน พระเจ้าปเสนทิโกศลถึงกับได้ทูลพระพุทธเจ้าว่าพระองค์นี้ ทรงอนุเคราะห์ข้าพระองค์ ไม่เฉพาะเรื่องสัมปรายิกัตถะเท่านั้น ทรงอนุเคราะห์แม้แต่ ในเร่อื ง ทิฏฐธมั มกิ ัตถะด้วย

๑๑

ปรมตั ถะ ก็คือประโยชนส์ ูงสดุ ถ้าพูดกันงา่ ยๆ กค็ ือเรือ่ งนพิ พาน หรือความมใี จ เป็นอิสระ ความมจี ติ หลุดพ้น มีจติ ใจปลอดโปรง่ ผ่องใสเบิกบานอยู่ได้ตลอดเวลา เพราะ ปราศจากกิเลส

จุดหมายนแี้ บง่ เปน็ ๓ อยา่ ง หรืออาจจะเรียกไดว้ ่าเปน็ ๓ ระดับ ซ่งึ อยู่ในวงหรอื ขอบเขตของพระพทุ ธศาสนา เป็นลกั ษณะทว่ั ไปอยา่ งหนึง่ ซง่ึ ชว่ ยใหไ้ ดร้ ะมดั ระวงั วา่ เราจะสอนหรอื แสดงหลักการของพระพทุ ธศาสนาน้นั ไมใ่ ชว่ า่ จะต้องจากดั เอาอย่าง เดียว เมอื่ ใครพูดถึงเรอื่ งระดบั อ่นื ประโยชนร์ ะดับอ่ืนแลว้ ไมย่ อมรบั เลย บอกว่าอันนี้ ไมใ่ ชพ่ ุทธศาสนา มิใช่อยา่ งน้นั พระพทุ ธศาสนาครอบคลมุ ไดท้ ั้ง ๓ ระดบั อยา่ งน้ี อนง่ึ ถา้ หากจะไม่แบ่งในแง่ระดบั จะแบ่งในแงป่ ระโยชน์ หรอื จุดหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยเ์ ปน็ ด้านๆ ท่านกแ็ บง่ ไว้อีก บอกวา่ ประโยชนม์ ี ๓ อยา่ ง หรอื อตั ถะ ๓ อย่าง คอื

อัตตตั ถะ ประโยชน์ตน ปรัตถะ ประโยชนผ์ อู้ น่ื อภุ ยตั ถะ ประโยชน์ทงั้ ๒ ฝา่ ย หรอื ประโยชน์ร่วมกนั

๑๒

มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ )

มรรค คือ ทางแห่งความดับทุกข์ หลักธรรมที่ควรปฏิบัติเพื่อเป็นทางไปสู่ความ ดบั ทุกขไ์ ดแ้ ก่

มรรคมีองค์ ๘ หรือ ทุกขนิโรธคำมินีปฏิปทำ แปลว่า ทาง หรือ มรรควิธีที่จะ

นาไปสู่ความดับทุกข์หรือดับตญั หา ในทน่ี ้ีหมายถึง มรรคมีองค์ ๘ หรอื มรรค ๘ ดงั น้ี

สมั มำทฏิ ฐิิ สัมมำสงั กปั ปะ

สัมมำสมำธิ สัมมำวำจำ

สมั มำสติ สมั มำกมั มนั ตะ

สัมมำวำยำมะ สมั มำอำชวี ะ

๑๓

สมั มำทิฏฐิ หมายถึง แนวคดิ ท่ีถูกตอ้ ง ความเหน็ ชอบตามทานองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทาดีได้ดีทาชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การ หลุดพน้ จากทกุ ข์

สัมมำสังกัปปะ หมายถึง ดาริชอบ หรือความนึกคิดในทางที่ถูกต้อง เป็นหนึ่งใน มรรค ๘ หรือ มรรคมีองคแ์ ปด สมั มาสงั กปั ปะ มี ๓ อยา่ ง ได้แก่ • เนกขัมมสังกัปป์ (หรือ เนกขัมมวิตก) คือ ความดาริที่ปลอดจากโลภะ ความนึก

คิดที่ปลอดโปร่งจากกาม ไม่หมกมุ่นพัวพันติดข้องในสิ่งสนองความอยากต่างๆ ความคดิ ท่ปี ราศจากความเห็นแก่ตัว ความคิดเสียสละ และความคิดที่เป็นคุณเป็น กศุ ลทกุ อย่าง จัดเป็นความนกึ คดิ ทีป่ ราศจากราคะหรือโลภะ • อพยำบำทสงั กัปป์ (หรือ อพยำบำทวิตก) คือ ดาริในอันไม่พยาบาท ความดาริที่ ไม่มีความเคียดแค้น ชิงชัง ขัดเคือง หรือเพ่งมองในแง่ร้ายต่างๆ โดยเฉพาะมุ่งเอา ธรรมที่ตรงข้าม คือเมตตา กรุณาซึ่งหมายถึงความปรารถนาดี ความมีไมตรี ตอ้ งการใหผ้ อู้ นื่ มีความสุข จดั เป็นความนกึ คิดทีป่ ราศจากโทสะ • อวหิ ิงสำสงั กปั ป์ (หรือ อวิหงิ สำวิตก) คอื ดาริในอันไม่เบียดเบียน ไม่มีการคิดทา ร้ายหรือทาลายด้วยความไม่รู้ เพราะคึกคะนอง ทาโดยไม่มีความโลภหรือความ โกรธมาเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะมุ่งเอาธรรมที่ตรงข้าม ปัญญาคือเข้าใจโลกนี้ตาม ความเป็นจริง รู้ชัดในกฎแห่งกรรม หรือมีสามัญสานึกในสิ่งที่ถูกต้องดีงามเอง จดั เป็นความนึกคดิ ที่ปราศจากโมหะ กุศลวิตก ๓ ประการนี้ ไม่กระทาความมืดมน กระทาปัญญาจักษุ กระทาญาณ ยงั ปญั ญาใหเ้ จริญ ไม่เป็นไปในฝกั ฝ่ายแห่งความคับแค้น เป็นไปเพอ่ื นิพพาน สัมมำวำจำ เจรจาชอบ คือ วจีสุจริต๔ (เว้นจาก วจีทุจริต๔) มีหลักธรรม เกย่ี วกบั สมั มาวาจาอยู่ ๔ ข้อดว้ ยกันคือ

ละการพูดเท็จ ละคาสอ่ เสียด ละคาหยาบ ละคาเพ้อเจ้อ

๑๔

สัมมำกัมมันตะ เป็นหนึ่งในมรรค ๘ หรือ มรรคมีองค์แปด กระทาชอบ ทาการ ชอบ คือ การกระทาทเี่ ว้นจากความประพฤตชิ ่ัวทางกาย ๓ อยา่ ง อันได้แก่

การงดเวน้ จากการฆ่าสัตว์ การงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของท่ีเขามิได้ให้ การงดเว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม

สัมมำอำชีวะ เป็นหนึ่งในมรรค ๘ หรือ มรรคมีองค์แปด สัมมาอาชีวะ หมายถึง การใช้ชีวิตด้วยการบริโภคปัจจัยสี่ อย่างมักน้อย เท่าที่จาเป็น ถ้าเป็นนักบวชที่อยู่ด้วย การขอ ต้องรักษาปัจจัยสี่ของทายกอย่างดี เพื่อให้คุ้มค่าต่อผู้ให้ ไม่เบียดเบียน และไม่ เสพสิ่งที่นอกเหนือจากปัจจัยสี่โดยไม่จาเป็นเช่นกามคุณ ๕ เพราะแม้ไม่เสพกามคุณ มนุษย์ก็สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ สัมมาอาชีวะของผู้บวชคือไม่เสพบริโภคเกินจาเป็น เช่น ดกู ารละเล่น แตง่ ตวั เป็นต้น

สัมมำวำยำมะ เป็นหนึ่งในมรรค ๘ หรือ มรรคมีองค์แปด เพียรชอบ เกิดฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ตั้งจิตไว้ การจะเกิดสัมมาสติ ต้องอาศัย ความเพียรพยายามกาหนดสติอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ จนเกิดเป็นสัมมาสมาธิ ดังนั้น สัมมาวายามะจึงตอ้ งมีอยู่หน้าสัมมาสติ

สัมมำสติ คือการมีสติกาหนดระลึกรู้อยู่เป็นนิจว่า กาลังทาอะไรอยู่ กาหนดรู้ สภาวะที่เกิดขึ้นจริงในขณะปัจจุบัน ในสภาวะทั้ง ๔ คือ กาย เวทนา จิต และธรรม ตามความจากัดความแบบพระสตู ร คือหลกั ธรรมทีเ่ รียกว่าสติปัฏฐาน ๔ แบ่งออกเป็น

กำยำนปุ ัสสนำสติปัฏฐำน การกาหนดระลกึ รู้ในกาย เวทนำนปุ ัสสนำสตปิ ัฏฐำน การกาหนดระลึกรู้ในเวทนา จิตตำนุปสั สนำสติปฏั ฐำน การกาหนดระลกึ รใู้ นจติ ธัมมำนปุ สั สนำสตปิ ัฏฐำน การกาหนดระลึกรใู้ นธรรม

๑๕

สัมมำสมำธิ แปลว่า สมาธิชอบ คือความตั้งใจมั่นโดยถูกทาง โดยการที่กุศล จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว (ความตั้งมั่นแห่งกุศลจิตในในอารมณ์อันใดอันหนึ่ง ไม่ ฟุ้งซา่ น) เข้าถึง ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตตยิ ฌาน และ จตตุ ถฌาน (จิตตงั้ ม่นั ในฌานทั้ง ๔ น้ี ส่วนอรูปฌาน)ทั้ง ๔ ท่านจัดเข้าในจตุตถฌาน ตามอารมณ์ที่อรูปฌานมีเจตสิก ที่เข้ามาประกอบในจิต คือ อุเบกขาเจตสิกและเอกัคคตาเจตสิก เช่นเดียวกับจตุตถ ฌาน

ปัญญำ ๓ แปลว่า ควำมรู้ทั่วถึง หมายถึงรู้แจ่มแจ้งหรือรู้ตลอดหมด ถ้ารู้ไม่

ทว่ั ถงึ รไู้ ม่แจม่ แจ้งโดยตลอด ไมน่ บั วา่ เป็นปญั ญาที่แทจ้ ริง ปัญญามี ๒ ประเภท คอื ปัญญาทม่ี าแต่กาเนดิ (สหชาตกิ ปัญญา) และปัญญาที่

มขี ้นึ มาภายหลงั ดว้ ยการศึกษาเลา่ เรยี น (โยคปัญญา) ปัญญาประเภทหลังนี้เท่านั้นท่ี ต้องการเนน้ ในทีน่ ี้เพราะเร่อื งของปัญญาหรือความรนู้ ัน้ เป็นเรื่องที่ฝึกฝนอบรมกันได้ อย่างพุทธวจนะว่า ”ปัญญาย่อมมีได้เพราะการฝึกฝนพัฒนาและเสื่อมไปเพราะไม่ ฝกึ ฝนพฒั นาการพฒั นา” ปญั ญามี ๓ วิธีดงั น้ี

๑. สตุ มยปัญญำ คอื ปัญญาหรอื ความรอู้ ันเกิดจากการศกึ ษาเล่าเรียน ๒. จนิ ตำมยปัญญำ คอื ปัญญาหรือความรอู้ นั เกิดจากการคดิ วเิ คราะห์ ๓. ภำวนำมยปญั ญำ คอื ปัญญาหรือความรู้อันเกดิ จากฝึกฝน หรือ ลงมือปฏบิ ตั ิ

๑๖

เสรมิ สำระ ลกั ษณะหลกั ธรรม

ของพระพทุ ธเจำ้

การศกึ ษาพระธรรมของพระพทุ ธเจ้าบางครง้ั อาจมีข้อสงสยั ว่าพระธรรมของ พระพุทธเจ้ามีมากมายและบางคร้งั หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์อาจเข้ามาปะปนอยู่ ในพระพุทธศาสนาจนไมอ่ าจแยกแยะไดว้ า่ หลักธรรมใดเปน็ ของพระพุทธเจ้าหลักธรรม ใดเป็นของศาสนาอ่นื พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงประทานหลักในการตัดสนิ วา่ หลกั ธรรมคาสอน ของพระองค์จะต้องมีลกั ษณะ ๘ ประการดังนี้

๑.ธรรมเหลา่ ใดทเ่ี ปน็ ไปเพื่อคลายกาหนดั เม่อื ศึกษาและปฏิบัตติ ามแล้วจะผ่อน คายความกาหนัดในรูป เสียงกล่ิน รส และการสมั ผสั ใหเ้ บาบางลงไป

๒. ธรรมเหล่าใดเป็นไปเพื่อความปราศจากทกุ ข์ เมื่อศึกษาและปฏิบตั ติ ามแล้วจะ ผ่อนคลายบรรเทาหรือระงับความทุกขท์ ั้งกายและใจลงไปได้

๓. ธรรมเหล่าใดเปน็ ไปเพ่อื ความไม่สะสมกิเลส เม่ือศกึ ษาและปฏบิ ัติตามแลว้ จะ ทาให้ความโลภ ความโกรธ และความหลงน้อยลงได้

๔. ธรรมเหลา่ ใดเปน็ ไปเพื่อดบั ความอยาก เมือ่ ศกึ ษาและปฏบิ ัตติ ามแลว้ ความ ปรารถนาและความยินดีในลาภยศ สรรเสรญิ จะลดลงได้

๕. ธรรมเหลา่ ใดเปน็ ไปเพอ่ื ให้เกิดความสะดวก เมอ่ื ศกึ ษาและปฏบิ ัตติ ามแลว้ จะ ยินดีในสง่ิ ที่ตนมอี ย่ตู ามกาลงั ความสามารถและฐานะของตน

๖. ธรรมเหลา่ ใดเป็นไปเพอ่ื ความสงดั จากหมู่ เมื่อศึกษาและปฏิบตั ิตามแล้วจะ กอ่ ใหเ้ กิดความสงบในร่างกายจติ ใจและสงัดจากกเิ ลส

๗. ธรรมเหล่าใดเปน็ ไปเพื่อความเพียรเมื่อศึกษาและปฏบิ ตั ิตามแล้วชวี ิตจะ ก้าวหน้าขึ้นเพราะการทางานประสบความสาเร็จ

๘. ธรรมเหล่าใดเป็นไปเพอ่ื การเล้ยี งง่าย เม่อื ศกึ ษาและปฏิบัตแิ ล้วจะเป็นคน เล้ยี งงา่ ย เขา้ ใจง่าย อยู่ไหนก็อย่ไู ด้ไมเ่ ดือดรอ้ นเพราะปจั จยั ๔ เป็นเหตุ

๑๗

บญุ กิรยิ ำวตั ถุ ๑๐ หมายถึง การทาบุญ คอื การทาความดีด้วยกิรยิ าต่างๆ ถือ

เปน็ ธรรมท่ีส่งเสริมใหก้ ารประพฤติพรหมจรรยม์ ีการตั้งอยอู่ ยา่ งเปน็ นิจ และใหเ้ ป็นไป เพ่ือประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ชนหมมู่ าก

บญุ กิริยาวัตถุ ในอดตี ถกู บญั ญตั ไิ วเ้ พียง ๓ ประการ แตภ่ ายหลังไดบ้ ัญญัตเิ พิม่ ใหมใ่ หเ้ ป็นบุญกิริยำวัตถุ ๑๐ ประกำร ในพระคมั ภีรอ์ รรถกถาฑีฆนิกาย และคัมภรี ์ อภิธัมมัตถสงั คหะ เพอ่ื ม่งุ ใหเ้ กดิ ความละเอียด มคี วามเข้าใจ และนาไปปฏิบัตไิ ดง้ ่ายข้นึ

หมวดทำน

๑. ทำนมยั (บุญอนั เกิดจำกกำรใหท้ ำน) ทานมัย แหง่ บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ บุญที่เกิดจากการให้ทาน คือ บุญที่มาจาการ

สละซึ่งทรัพย์ สิ่งของ ความรู้ อวัยวะหรือชีวิตของตนให้แก่ผู้อื่น เพื่อให้ผู้นั้นพ้นจาก ทุกข์ เมื่อเขาลดหรือพ้นจากทุกข์แล้ว ย่อมยังให้กุศลที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่นมาถึงตนด้วย เช่นกัน ประกอบกับจิตขณะให้ทานนั้น ประกอบขึ้นด้วยการละซึ่งความเห็นแก่ตัว ความตระหนี่ถี่เหนียว ย่อมยังผลแห่งจิตที่ละแล้วซึ่งกิเลสนั้น กลายเป็นส่วนบุญมายัง ตนเชน่ กนั ๒. ปัตตทิ ำนมยั (บญุ อันเกดิ จำกกำรอุทิศ และร่วมอุทศิ )

ปัตติทานมัย แห่งบญุ กริ ิยาวตั ถุ ๑๐ คอื บญุ ท่เี กิดจากการตัง้ จิตอุทิศสว่ นบุญหรือ ผลกรรมท่ตี นได้ทามาใหแ้ กผ่ อู้ นื่ ผทู้ ี่มีบุพการี หรือสรรพสิ่งทั้งปวง และยังรวมหมายถึง จติ ที่เกิดจากการยินดีที่ผู้อื่นที่ได้ร่วมทากุศลหรืออุทิศกุศลนั้นๆ จิตที่เต็มเปี่ยมด้วยการ ตั้งมั่นในการอุทิศนี้ ย่อมมาจากจิตอันบริสุทธิ์ และเป็นจิตที่เกิดจากกุศล ดังนั้น บุญ กุศลทเ่ี กิดแต่จิตแหง่ การอุทศิ น้จี งึ ยังผลมาส่ตู นดว้ ยเชน่ กนั ๓. ปัตตำนโุ มทนำมยั (บุญอนั เกดิ จำกกำรอนุโมทนำ)

ปัตตานุโมทนามัย แห่งบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ บุญที่เกิดจากการตั้งจิตอนุโมทนา ต่อความดีที่ผู้อื่นได้กระทา จิตที่มีจิตอนุโมทนานี้ ย่อมเกิดจากจิตที่บริสุทธิ์ และ เห็นชอบกับความดีของผู้อื่น จึงยังจิตให้เกิดแต่ความสงบ และความยินดีในกุศลนั้นๆ กุศลนัน้ จึงเกดิ แกต่ นด้วยเชน่ กนั

๑๘

หมวดศีล

ทีม่ ำ ://bit.ly/3DsDTJK

๔. สลี มยั (บญุ อนั เกิดจำกกำรรกั ษำศีล) สีลมยั แหง่ บุญกิรยิ าวัตถุ ๑๐ คือ บุญทเ่ี กิดจากการรกั ษาศีล การต้ังมน่ั อยใู่ นศีล

หรือประพฤตดิ ี รู้จักประพฤติตน และควบคมุ ตนให้อยู่ในความปกตใิ นธรรม เพื่อละซึ่ง โทสะ (ความโกรธ) และโลภะ (ความโลภ) ปราศจากการกระทาดว้ ยกาย และวาจาอัน ผิดตอ่ คนั รองคลองธรรม ๕. อปจำยนมัย (บญุ อันเกิดจำกกำรออ่ นนอ้ มถ่อมตน)

อปจายนมัย แห่งบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คอื บญุ ท่ีเกิดจากการรู้จักออ่ นน้อมถอ่ มตน มสี ัมมาคารวะ และความเคารพ ท้ังตอ่ ผใู้ หญ่ หัวหน้า ครบู าอาจารย์ บดิ า-มารดา และ ผทู้ รงศีลท้งั ปวง ซึ่งเปน็ การลดซง่ึ ฐิติ และความเห็นผดิ ของตนให้นอ้ ยลง

๖. เวยยำวจั จมัย (บุญอนั เกิดจำกกำรขวนขวำยในกจิ โดยชอบ) เวยยาวัจจมัย แหง่ บญุ กิรยิ าวัตถุ ๑๐ คอื บุญท่ีเกดิ จากความเพียรในการแสวงหา

ประโยชนแ์ ก่ตน และผู้อนื่ โดยชอบ ดว้ ยการดาเนินชีวติ หรอื การประกอบอาชพี โดย สุจรติ และตามคนั รองคลองธรรม

๑๙

หมวดภำวนำ

ท่มี ำ ://bit.ly/3DsDTJK

๗. ภำวนำมัย (บุญอันเกิดจำกกำรเจรญิ ภำวนำ) ภาวนามัย แหง่ บญุ กิรยิ าวตั ถุ ๑๐ คอื บญุ ท่เี กดิ จากการภาวนาจติ หรอื ขดั เกลา

จิตให้มีสมาธิ ใหม้ คี วามสงบ และละซงึ่ กิเลสแหง่ โมหะ (ความหลง) ทง้ั หลาย พร้อม ส่งเสรมิ ให้จติ ของตนให้ตงั้ มั่นอยใู่ นคลองธรรมทั้งในปจั จบุ ัน และอนาคต ๘. ธัมมสั สวนมัย (บุญอนั เกดิ จำกกำรฟังธรรม)

ธมั มสั สวนมยั แห่งบุญกิรยิ าวตั ถุ ๑๐ คือ บุญที่เกดิ จากการรบั ฟงั ธรรม อัน กอ่ ให้เกิดปัญญา และทางรแู้ จง้ แก่ตน ยงั ตนใหต้ ั้งอย่ใู นศีลธรรมอันงาม สามารถละหรือ ลดซ่งึ กเิ ลสทั้งปวง ๙. ธมั มเทสนำมยั (บุญอันเกิดจำกกำรแสดงธรรม)

ธัมมเทสนามัย แห่งบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ บุญทเี่ กดิ จากการแสดงหรอื การสอน ธรรมให้แกผ่ ู้อื่น สามารถเจริญธรรมนท้ี ้ังที่เป็นสงฆห์ รือฆราวาส สงฆแ์ สดงธรรมแก่ ปุถชุ นผูร้ กั ษาศลี ๕ และศลี ๘ ฆราวาสแสดงหรอื สอนธรรมแก่ผเู้ ยาว์ ทง้ั นกั เรยี นหรือ ลูกหลานของตน ธรรมทแ่ี สดงนั้น ย่อมสง่ ผลให้ผู้ฟังรแู้ จง้ หรอื เข้าใจในธรรม และ พร้อมทจี่ ะลุซงึ่ ความทกุ ข์ได้ ผ้ทู แ่ี สดงธรรมน้นั ยอ่ มได้รบั ผลบญุ ทีย่ ังให้ผูอ้ น่ื พน้ จาก ทุกข์ ๑๐. ทฏิ ฐชุ กุ รรม (บุญอันเกดิ จำกกำรทำควำมเห็นใหต้ รง)

ทฏิ ฐุชกุ รรม แห่งบญุ กิรยิ าวตั ถุ ๑๐ คอื บุญท่ีเกดิ จากการรู้จักคดิ วเิ คราะห์ดว้ ย จิตอนั เป็นกศุ ล จิตเห็นพอ้ งในธรรม ภายใต้พนื้ ฐานของเหตุ และผลท่ีเปน็ จริง

๒๐

หลกั ธรรมคาสอนทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงตรัสร้แู ละนามาเผยแผ่แก่ มวลมนุษย์ เปน็ หลักความจริงอันประเสริฐทช่ี ่วยให้มนุษย์เข้าใจชีวติ ตามความเป็นจจริงและสามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ

การศึกษาหลกั ธรรมคาสอนตา่ งๆ อาทิ หลักอริยสจั ๔ ซงึ่ สอนให้ บุคคลรูจ้ กั ใชป้ ญั ญาในการแกไ้ ขปญั หา ใหบ้ ุคคลกระทาความดี ละเว้น ความชัว่ ให้เข้าใจหลกั ธรรมชาติของสง่ิ ทง้ั หลายว่ามกี ารเปล่ียนแปลง ไมเ่ ท่ียงแท้แนน่ อน ตลอดจนหลกั การประพฤตปิ ฏิบตั ิตนในทางที่ ถกู ตอ้ งดงี าม จะเป็นแนวทางใหบ้ คุ คลนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชวี ติ ประจาวันได้เป็นอยา่ งดี

๒๑

อา้ งอิง

ศ.ดร.วทิ ย์ วศิ ทเวทย์. พระรตั นตรัย. พระพุทธศาสนา ม.3 พิมพ์ครั้งท่ี 21, หน้า60-62. พิมพ์ที่ : บริษัทไทยรม่ เกลา้ จากัด.

ศ.ดร.วิทย์ วศิ ทเวทย์. อริยสจั 4. พระพุทธศาสนา ม.3 พมิ พค์ รัง้ ท่ี21, หน้า62-73. พมิ พท์ ่ี : บริษทั ไทยรม่ เกล้า จากัด.

siamroommate. (2021). ปญั ญำ 3 ประกำร. สืบคน้ เมอื่ 1 ตุลาคม 2564, จาก //bit.ly/3owTROK.

thaihealthlife. บญุ กริ ิยำวตั ถุ 10. สบื คน้ เมือ่ 1 ตุลาคม 2564, จาก //bit.ly/2YmqO5Q.

๒๒

ช่ือ นำงสำวพรชติ ำ วรรณพนั ธ์ ชื่อเล่น บมี กรปุ๊ A

เกดิ วัน พฤหสั บดี ท่ี 21 เดอื นกนั ยำยน พ.ศ.2543

• ครุศำสตรบ์ ัณฑิต • สำขำวิชำพทุ ธศำสนศึกษำ • ปริญญำตรี

อปุ สรรค คอื แรงกดดัน นำไปสคู่ วำมสำเร็จ

ธมโฺ ม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี ธรรมยอ่ มรกั ษาผปู้ ระพฤติธรรม

ขุ.เถร. ๒๖/๓๑๔

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้