2024 ทำไม เวลาปร บระด บเส ยง ม นข นแถบข างขวา

  1. เครือ่ งหมายแฟลต (Flat) เปนเครือ่ งหมายแปลงเสียงที่ทำใหตวั โนตมรี ะดับเสยี งต่ำลงกวา ปกติครง่ึ เสียง

ตำแหนงของ ชารป และ แฟลต บนล่ิมคยี บอรด

  1. เนเจอรลั (Natural) ใชแปลงสภาพของตัวโนต ที่เคยถกู เคร่อื งหมาย ชารป หรือ แฟลต บังคับเสยี งใหส ูงขึ้น หรอื ตำ่ ลงกวาปกติไวแ ลว ใหกลบั มาใชเสยี งเดิม

ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

คำชแ้ี จง ใหนักเรยี นอา น เขียน และรองตามโนตสากล ตามขนั้ ตอนท่กี ำหนด การอาน เขียน และรองตามโนตในกุญแจซอล ในบันไดเสยี ง C Major เพลงฝนชมดาว

ด––– ––– – – –– – –– ประดบั เรอื งรอง ทอ้ ง น- ภา ลบิ ลบิ ลาน ตา ดา รา ราย

–– –– ––– – – –– – –– ฉนั ฝัน ชม ดาว พราว พรงิ พราย วบั วบั แวว วาว ดาว เรยี ง ราย

– – – – –– – –– –– – –– แต่ อยู่ ไกล กนั ฉนั เสยี ดาย แมน้ หมาย เชย ชม คง ตรอม เอย.

ขน้ั ตอนการฝก ปฏิบตั ิ 1. ใหนกั เรียนเติมเสียงใตต ัวโนต ทุกตัวบนบรรทดั ที่ 1 และ 2 ใหค รบ 2. ลอกตวั โนต ทกุ ตัวและเสยี งทุกเสียงจากบรรทัดที่ 1 ลงบนบรรทดั ที่ 3 3. นกั เรยี นรองเพลงฝนชมดาวตามโนตที่บนั ทึกทัง้ 3 บรรทัดพรอ มๆ กัน 2 เทย่ี ว 4. นกั เรียนรอ งเพลงฝนชมดาวตามเนื้อรองที่บันทกึ ทั้ง 3 บรรทัด พรอ มๆ กัน 2 เทย่ี ว

การอา น เขยี น และรอ งตามโนต ในกุญแจฟา ในบนั ไดเสยี ง C Major เพลงขนมปง กรอบ (Hot Cross Bun)

ม– – –– – – – –– – – –

ขนม ปง กรอบ ขนม ปง กรอบ กรอบ กรอบ มนั มนั ขนม ปง กรอบ

ขั้นตอนการฝก ปฏบิ ัติ 1. ใหน ักเรียนเตมิ เสยี งใตตัวโนต ทกุ ตัวในเพลงขนมปงกรอบ (บันทกึ ในกุญแจฟา) 2. นกั เรียนรองเพลงขนมปง กรอบตามโนตทบ่ี นั ทึกพรอมๆ กัน 2 เที่ยว 3. นักเรยี นรอ งเพลงขนมปง กรอบตามเนอ้ื รองท่ีบนั ทึก พรอ มๆ กนั 2 เทีย่ ว

แบบประเมินการอา น เขียน และรองตามโนต สากล

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321

1 การอานตวั โนต สากล 2 การเขียนตวั โนตสากล 3 การรองเพลงตามโนตสากล

รวม ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑการใหค ะแนน ดีมาก = 4 คะแนน ดี = 3 คะแนน พอใช = 2 คะแนน ปรบั ปรงุ = 1 คะแนน

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 8 ดีมาก 6-7 ดี 4-5 พอใช ปรบั ปรงุ ตำ่ กวา 4

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง : ให ผูสอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แลวขีด  ลงในชอง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน

4321

1 ความถกู ตอ งของเนอื้ หา

2 ความคิดสรา งสรรค

3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน

4 การนำไปใชประโยชน

5 การตรงตอเวลา

รวม

ลงชอ่ื .................................................... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑการใหคะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช ัดเจน ให 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรอ งบางสว น ให 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อบกพรองเปน สวนใหญ ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อบกพรองมาก ให 1 คะแนน

เกณฑการตดั สินคณุ ภาพ ดมี าก ดี คะแนน 8 หมายถงึ พอใช คะแนน 6-7 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 4-5 หมายถงึ คะแนน ต่ำกวา 4 หมายถึง

แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 3

รายวชิ าศลิ ปะ สาระ ท่ี 2 ดนตรี (สากล) รหสั วิชา ศ 22102 ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2

กลุม สาระการเรียนรู ศลิ ปะ ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

หนว ยการเรียนรูท่ี 3 เครื่องดนตรแี ละวงดนตรสี ากล เวลา 4 ช่วั โมง

เรอ่ื ง เครื่องดนตรสี ากล เวลา 2 ชัว่ โมง

ผสู อน นายสภุ ชยั จนั ทะโสม โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธานี

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วัด ศ 2.2 ม2/1 บรรยายบทบาทและอิทธิพลของดนตรใี นวฒั นธรรมของประเทศตา งๆ

สาระสำคญั

การใชเ คร่ืองดนตรสี ากลแตละชนิดควรใหความสำคญั ในการดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรีอยา งถูกวธิ ีและพรอ ม ใชงาน อยเู สมอ จุดประสงคการเรยี นรู

- อธิบายหลกั การใชแ ละบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรสี ากลได สาระการเรยี นรู

- การใชและการบำรงุ รักษาเคร่ืองดนตรีของตน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ ม่นั ในการทำงาน เบญจวถิ กี าญจนา 1. เทดิ ทูนสถาบัน 2. กตญั ู 3. บุคลิกดี 4. มีวนิ ยั 5. ใหเกยี รติ สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จดุ เนนสูการพัฒนาผูเรยี น ความสามารถและทกั ษะทจ่ี ำเปนในการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls) R1– Reading (อานออก) R2– (W)Riting (เขียนได) R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน) C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา นการคดิ อยางมีวิจารณญาณและทกั ษะในการ

แกปญหา) C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา นการสรา งสรรคและนวัตกรรม) C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา นความเขาใจตา งวฒั นธรรมตางกระบวนทศั น) C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา นความรว มมือ การทำงานเปน ทีมและ

ภาวะผูนำ) C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการส่อื สารสารสนเทศและรูเทา

ทนั สอื่ ) C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร) C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู) C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผูนำ)

การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ

ดานความรู ภาระงาน/ชิน้ งาน

ตอบคำถามสะทอน ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมินการตอบ ระดับ 4 ดเี ย่ียม 4 คะแนน ความคิด เครื่องดนตรี สะทอนความคดิ ตาม คำถามสะทอนความคิด = ทำไดทุกตวั ชีว้ ดั สากล ตวั ช้วี ดั ตอ ไปน้ี ระดับ 3 ดี 3 คะแนน 1. ความถูกตอ งครอบคลุม = ทำไดม าก สงิ่ ทไี่ ดเรยี นรู ระดบั 2 พอใช 2 คะแนน 2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดน อย 3. การตัง้ คำถามท่ีอยากรู ระดบั 1 ตอ งปรบั ปรุง 1 คะแนน \= ทำไมไ ดถ งึ ทำไดน อยมาก

ดานทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑทใ่ี ช ใบงานท่ี รอยละ 60 ผานเกณฑ ใบงานที่ 1 ประเภทเครอื่ ง ระดบั คุณภาพ 2 ผานเกณฑ ดนตรีสากล ตรวจใบงานท่ี

บนั ทึกความรูความรจู าก แบบบันทกึ การอาน การสรปุ เนอื้ หาลงในสมดุ ตรวจแบบบนั ทึกการอา น

ดา นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑท ่ใี ช

บนั ทกึ การสงั เกตุ สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ระดบั คุณภาพ 2 ผา นเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน รายบคุ คล/รายกลุม ทำงานรายบุคคล/รายกลมุ

บนั ทึกการสงั เกตุ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอัน ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ รยี นรู พึงประสงค และมุง มน่ั ในการทำงาน

กิจกรรมการเรยี นรู 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียน 2. กจิ กรรมการเรยี นรู ข้นั นำเขา สูบทเรียน

1. ครนู ำภาพเคร่อื งดนตรสี ากลชนิดตางๆ มาใหนักเรียนดู แลว ให นักเรียนชวยกันจำแนกเครอ่ื งดนตรใี น ภาพตามวิธีการบรรเลง

2. ครูเฉลยคำตอบและอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรยี นฟงเกี่ยวกับการแบง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล

ขนั้ สอน

1. ครูแบงนกั เรยี นเปนกลุม กลุมละ 5 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เกง ปานกลางคอ นขา งเกง ปาน กลางคอนขา งออน และออน

2. สมาชกิ แตล ะคนในกลุมเลือกหัวขอในการศึกษาความรูเ ร่ือง ประเภทของเครอ่ื งดนตรีสากล และ หลักการใชแ ละบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรีสากล จากหนังสือเรียน ดงั นี้

  1. เครื่องสาย
  2. เครอื่ งเปาลมไม
  3. เครอื่ งเปา ลมทองเหลอื ง
  4. เครอ่ื งดนตรีประเภทมลี ิ่มนิ้ว
  5. เครอื่ งดนตรปี ระเภทเครอ่ื งตี (สมาชิกท่ีเรยี นออ นจะไดเลอื กหัวขอตามความสนใจกอน) 3. เมื่อสมาชกิ แตละคนศกึ ษาความรูเ สร็จแลวใหผ ลัดกนั เลาความรทู ไ่ี ดจากการศกึ ษาใหสมาชกิ คนอ่นื ๆ ใน กลมุ ฟง และซกั ถามขอสงสัยจนเกิดความเขา ใจท่ีตรงกนั 4. สมาชกิ แตล ะกลุม ชวยกนั ทำใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง เครื่องดนตรสี ากล โดยใหสมาชกิ แตล ะคนปฏบิ ัติ ดงั น้ี - สมาชกิ คนที่ 1 เขยี นคำตอบขอ 1 แลว สงใบงานใหสมาชิก คนท่ี 2

- สมาชกิ คนที่ 2 อานคำตอบของสมาชิกคนท่ี 1 ถายงั ไมถูกตองใหเขียนเพิ่มเติม จากนัน้ เขยี น คำตอบขอ 2 แลว สง ใบงานใหสมาชิกคนที่ 3

- สมาชกิ คนท่ี 3 อา นคำตอบของสมาชิกคนท่ี 2 ถา ยังไมถูกตอ งใหเ ขยี นเพ่ิมเตมิ จากนน้ั เขยี นคำตอบ ขอ 3 แลวสง ใบงานใหส มาชกิ คนท่ี 4

- สมาชกิ คนที่ 4 อานคำตอบของสมาชิกคนที่ 3 ถายังไมถูกตอ งใหเ ขียนเพิ่มเติม จากนนั้ เขียนคำตอบ ขอ 4 แลวสง ใบงานใหสมาชิกคนท่ี 5

- สมาชกิ คนที่ 5 อานคำตอบของสมาชิกคนที่ 4 ถายังไมถกู ตองใหเ ขียนเพ่ิมเตมิ จากน้นั เขยี นคำตอบ ขอ 5 แลวสง ใบงานใหสมาชิกคนท่ี 1 5. ครแู ละนักเรียนชว ยกันเฉลยคำตอบในใบงาน

6. นกั เรียนตอบคำถามกระตุนความคดิ

ขนั้ สรปุ นกั เรียนรวมกันสรุปประเภทของเครื่องดนตรีสากล และหลกั การใชและบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรีสากล

ส่อื /แหลงเรยี นรู

ส่อื การเรียนรู

  1. หนงั สอื เรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป ม.2

2)ใบงาน เร่ือง เครื่องดนตรีสากล

แหลง การเรียนรู

  1. หองปฏิบัตกิ ารดนตรีสากล สรปุ ผลการจดั การเรียนรู

ดา นความรู

กลุมผูเรยี น ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปนรอยละ

ดี 8 - 10

ปานกลาง 6-7

ปรับปรุง ตำ่ กวา 5 คะแนน

ดานทกั ษะ/กระบวนการ ชว งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน รอยละ 8 - 10 กลมุ ผูเรียน 6-7 ดี ต่ำกวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรุง

ดา นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค

กลมุ ผเู รยี น ชว งระดับคณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเปน รอยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรับปรุง 0-1

บนั ทกึ ผลการจดั การเรียนการสอน

ดา นการจัดกิจกรรมการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….....……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญ หาทีพ่ บระหวา งหรือหลงั จัดกจิ กรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ..........................................................ผสู อน (นายสุภชัย จันทะโสม )

............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู  สอดคลอ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลกั สตู รฯ  กจิ กรรมการเรยี นรเู นน ผเู รยี นเปน สำคัญ  มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู รียน  ใชส่อื หรือแหลงเรยี นรูท ีท่ นั สมยั และสง เสริมการเรียนรูไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ  สอดคลองตามจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน ของโรงเรียน  สง เสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สงเสรมิ เบญจวถิ กี าญจนา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชอ่ื ................................................. (นางรชั นี หนเู พ็ง.)

หวั หนา กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนากลมุ บริหารวิชาการ

 ถกู ตองตามรปู แบบของโรงเรียน

 ผา นการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู/กรรมการนเิ ทศ

 กอ นใชสอน  หลังใชส อน

 มบี นั ทกึ หลังจดั กิจกรรมการเรียนรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชื่อ............................................... (นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด์ิ)

หวั หนากลมุ บริหารวิชาการ ความคดิ เห็นของรองผอู ำนวยการฝา ยวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงช่อื ..................................................... (นางกญั จนช ญาณัท วงศจิระศักด)ิ์

รองผูอ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ บรหิ ารงานวชิ าการ

ความคิดเหน็ ของผอู ำนวยการโรงเรียน (สว นนี้ใชเฉพาะแผนการสอนทใ่ี ชสง ผลงานทางวิชาการ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงช่ือ..................................................... ( นางพรทิพย นุกลู กิจ )

ผูอำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธานี

ใบความรูเ รอ่ื ง ประเภคของเครื่องดนตรสี ากล เครอื่ งดนตรสี ากลประเภทเครอื่ งสาย

1. ไวโอลนิ คอื เคร่ืองดนตรีท่กี ำเนดิ เสยี งในระดบั สูงมที งั้ หมด 4 ชนดิ คอื ไวโอลิน วิโอลา เชโล และดบั เบิล เบส เครื่องดนตรใี นตระกูลไวโอลนิ คือ เครื่องดนตรีหลกั ที่ใชในวงออรเคสตรา ลำตัวไวโอลนิ ทำดวยไม มี 4 สาย ตง้ั เสยี งตา งกันในระดับคู 5 (G , D , A และ E) ปกติจะเลนโดยใชค ันชกั สที สี่ ายใหสน่ั สะเทือน แตบางคร้งั ก็จะใชน ิว้ ดีด เพอื่ ใหเกิดเสียงสั่น ไวโอลินจะตองวางบนไหลข า งซายของผูเลน แลว ใชค างหนีบไวไมใหเ คล่อื นที่ มอื ขวาของผู

เลนใชส ีสายไวโอลนิ ดว ยคนั ชกั โดยท่วั ๆ ไปคนั ชักจะทำดว ยหางมา

2. กีตาร (Guitar) กตี าร คือ เคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอื่ งสาย เลนโดยวิธกี ารดดี เกี่ยว ดงึ หรอื กรีด ลงบน สายกตี าร อาจใชน ว้ิ หรือ เพล็คทรัมก็ได กลองเสยี งของกีตารม ลี กั ษณะคลา ยไวโอลนิ ขนาดใหญ คอยาว มีเฟลท โลหะค่นั อยู มี 6 สาย และมหี มดุ ยดึ สายทป่ี ลายคอกีตาร สายชองกีตารม ีทง้ั ที่ทำดวยโลหะเเละไนลอ น เคร่อื งดนตรสี ากลประเภทเครอื่ งลมไม

1. คลาริเนต เปน เคร่อื งดนตรปี ระเภทเคร่ืองลมไม ใชล นิ้ เดียว ปคลารเิ นตในระดับเสียงบแี ฟลต็ ไดถกู ใช เปนตวั แทนเมื่อมกี ารกลาวถงึ ปค ลารเิ นตเสมอ คลาริเนตมีใชอยูหลายชนิด เชน บแี ฟล็ต คลารเิ นต เบส คลาริเนต อแี ฟล็ต คลารเิ นต เปนตน ลำตวั ป คลาริเนตทำดวยโลหะและไม หรือบางครงั้ ก็ทำดว ยยางหรอื พลาสติก ลำตวั ป

กลวง เปล่ยี นระดับเสยี งโดยใชน ิ้วและคียโลหะบนุ วมปดเกิดรู ป คลาริเนตมรี ปู รา งคลา ยกบั ปโ อโบ แตกตางกันที่ ปากเปา (กำพวด)คณุ ภาพเสียงของป คลารเิ นต มชี ว งเสยี งกวา งและทุมลกึ มนี ว้ิ พิเศษทท่ี ำเสยี งไดส งู มากเปน พเิ ศษ

2. แซก็ โซโฟน ใชก ำพวดทมี่ ีล้นิ เดียว เหมือนอยางปคลาริเนตแตล ำตวั จะเปนทรงกรวยเหมือนโอโบ ลำตัว ทำดวยโลหะเหมือนเครอ่ื งทองเหลือง ปากลำโพงเคง งอยอนข้ึนมา แซ็กโซโฟนขนาดเล็กใหเสียงสงู ขนาดใหญใ ห เสียงตำ่ เสียงของ แซ็กโซโฟนเปนลกั ษณะผสมผสานมที ง้ั ความพลวิ้ ไหว ความกลมกลอมและความเขมแข็งปะปน กัน

3. ฟลทุ คือ ขลยุ ชนดิ หน่ึงเปน เครอ่ื งดนตรอี ยูในกลมุ เคร่อื งลมไม ฟลุทมีทอกลวงเกดิ เสียงโดยการเปาลม ผา นสวนปากเปา ผูเลนตองถือฟลทุ ใหขนานกับพน้ื ฟลุทในระยะแรกทำดว ยไม ปจจุบันฟลุททำดวยโลหะผสม คุณภาพเสยี งของฟลทุ ในระดบั สูงมีเสียงแจม ใสเปาเสยี งในระดับสงู ไดดี เสยี งในระดบั ตำ่ มีความนมุ นวล เหมาะ สำหรบั ใชบรรเลงเดย่ี วบรรเลงทำนองหลักของบทเพลง และบรรเลงทำนองสอดแทรกตาง ๆ ในระดับเสียงสงู

4. ปค โคโล คือ เครือ่ งดนตรีในกลุมเครอื่ งลมไม เปนเคร่อื งดนตรใี นตระกูลฟลุท วิธีการเปา จึง เหมอื นกบั การเปา ฟลุท ปคโคโลมีระดบั เสยี งสงู กวาฟลุทอยู 1ชวงคูแปด มีขนาดเล็กกวาฟลทุ 4 เทา จึงทำใหมี คณุ ภาพเสียงท่สี ดใสและแหลมมาก เสียงในระดบั ตำ่ ของปคโคโลจะดังไมชัดเจน ปค โคโลจึงเหมาะทจ่ี ะใชในการ เลนในระดับเสยี งกลางและเสียงสงู มากกวาในระดับเสียงต่ำ

เคร่ืองดนตรสี ากลประเภทเครื่องลมทองเหลือง

1. ทรมั เปท คอื เคร่ืองดนตรที ีจ่ ัดอยใู นประเภทเคร่อื งลมทองเหลืองกำพวดสำหรบั เปามีลกั ษณะเปนทอ โลหะบานตรงปลาย คลา ยรูปถวย ทอลมทรัมเปทดานปลายทอ บานออกเปน ลำโพง เพอ่ื ขยายเสียงใหดงั ทรมั เปท มลี ูกสบู 3ลกู สูบสำหรับเปลีย่ นความสัน้ ยาวของทอ ลม เพื่อเปลีย่ นระดบั เสยี งดนตรที ่เี กิดขนึ้ บางครั้งกดเดยี ง 1 นิ้ว บางครงั้ 2 น้ิว หรือ 3 น้ิวพรอ มกันเปาโดยเมมรมิ ฝปาก แลวทำใหริมฝปากส่ันสะเทอื นในกำพวด เสียง ของทรัมเปทเปน เสียงทมี่ ีพงั และดังเจิดจา ในบทเพลงตา ง ๆ

2. ทบู า คอื เครอื่ งดนตรีประเภทเคร่ืองลมทองเหลอื งที่มรี ะดับเสยี งตำ่ สุด เครื่องเปาทองเหลืองที่มีระดับ เสียงตำ่ เชนเดียวกับทูบามีอกี จำนวนหน่ึง เชน บาริโทน ยโู ฟเนียม และซซู าโฟน ทบู ามีพัฒนาการมาจากการเปา เขาสตั วและการเปา สังข ทอลมของทบู ามลี ักษณะคอ ย ๆ บานออก สวนตรงปลายทอ บานเปนลำโพง กำพวดเปน โลหะรปู ถวย มลี ูกสบู 3 หรอื 4 ลกู สบู ทูบามีทั้งในระดับเสียงอีแฟลต็ และบีแฟลต็

3. ยูโฟเนียม คือ เคร่อื งดนตรีประเภทเครอ่ื งเปาทองเหลอื ง ลกั ษณะเสียงของยโู ฟเนยี มจะนมุ นวล ทุมลึก และมคี วามหนักแนน มาก สามารถเลนในระดบั เสยี งต่ำไดดี บางครง้ั นำไปใชใ นวงออรเคสตราแทนทบู า คำวา”ยโู ฟ เนียม” มาจากภาษากรีกหมายถึง ”เสยี งด”ี ลกั ษณะท่ัวไปของยโู ฟเนยี มเหมือนกบั เคร่อื งเปา ทองเหลอื งท่ัวไป จะมี ลกู สูบ 3 – 4 ลกู สูบมกี ำพวดเปนรปู ถวย ทอลมกลวงบานปลายเปน ลำโพงเสียง มเี ครือ่ งดนตรีชนิดหนงึ่ ชือ่ “บาริ โทน” มเี สียงใกลเคียงกบั ยูโฟเนยี ม แตท อ ลมมีขนาดเลก็ กวา เสยี งของบารโิ ทนจะมคี วามหา วมากกวายโู ฟเนยี ม พบวาบอยครัง้ ท่ีมีการเรียกช่ือสลับกนั ระหวางยโู ฟเนยี มและบารโิ ทน

4. ทรอมโบน คือ เคร่ืองลมทองเหลือง มีคนั ชักโคงเปนรปู ตัวยู สำหรบั เปลย่ี นความสน้ั ยาวของทอลม ตำแหนง ของการเล่ือนคันชักจะมีอยูท ง้ั หมด 7 ตำแหนง ใหระดบั เสียงดนตรีตางกันออกไป ทอลมกลวง ทรงกระบอก ปลายทอบานออกเปนลำโพง เปาโดยใชก ำพวดเปน รปู ถว ย

เครือ่ งดนตรีสากลประเภทเครื่องตกี ระทบ

1. กลองใหญ คือ เครอ่ื งตีกระทบ มี 2 หนา ขึงดว ยหนังกลอง กลองใหญทีใ่ ชใ นวงออรเคสตรา จะมีขนาด ใหญท ี่สดุ กวา 32 น้ิว ถา ใชใ นวงโยธวาทิตจะมีขนาดตั้งแต 20-32น้ิว ตดี ว ยไมตี ปลายไมขา งหนึง่ ทำเปนปมไว สำหรับใชต กี ระทบกับหนงั กลองปมน้ันอาจหมุ ดวยสกั หลาด ไมกอก ผานวม หรือ ฟองน้ำ เสียงกลองตีเนน ยำ้ จงั หวะเพื่อใหเกิดความหนักแนน หรอื อาจจะใชร วั เพือ่ ใหเกิดความต่ืนเตน รวั เพ่อื สรา งจุดสนใจในบทเพลงเพ่ิมข้ึน ก็ได

2. กลองเลก็ คือ เคร่ืองตกี ระทบ มี 2 หนา ขึงดวยหนังกลอง ลักษณะเฉพาะ คือ หนังกลองดานลา งตอ ง คาดไวดวยสายสะแนรมที ัง้ ท่ีทำดว ยไนลอนและทำดว ยเสนลวดโลหะ กลองเลก็ มีหลายชอื่ เชน Snare Drum และ Side Drum และ มีขาต้ังรองรบั ตวั กลองใชเ ปนสวนหนึง่ ของกลองชุด หรือนำมาใชบ รรเลงประกอบจังหวะสำหรบั วงออรเ คสตรา หรือวงอน่ื ๆท่นี ่ังบรรเลง สำหรบั วงโยธวาทิตและแตรวง มีตัวยึดกลองทำดวยโลหะคลอ งยดึ ไวก บั ลำตัวของผูตี กลองจะอยูด า นหนา ของผตู ใี ชส ำหรับดรยี กกลองเลก็ ท่ผี ตู ตี องใชสายสะพายคลองกลองไวข างลำตวั ตะขอที่อยตู ดิ กับขอบกลองใชคลอ งเกยี่ วกบั ตัวกลองไวก ับสายสะพาย ขอบกลองดานบนอยใู นระดบั เดยี วกบั เอว ชองผูตี ตวั กลองอยใู นลกั ษณะเฉียงกบั สำตวั ของผูต ี

3. กลองทิมปานี เปน กลองท่มี ลี กั ษณะเหมอื นกระทะหรอื กาตมนำ้ จงึ มีชื่อเรยี กอีกชื่อหนึง่ วา Kettle Drum ตวั กลองทำดว ทองแดง ตงั้ อยบู นขาหยง่ั กลองทิมปานมี ีระดับเสยี งแนนอน เทียบเทากับเสียงเบส มกี ระเดื่อง เหยียบเพื่อเปล่ียนระดบั เสียงตามตองการในการบรรเบงตองใชอยางนอย 2 ใบ เสยี งของกลองแสดงอำนาจ ทำให ความย่งิ ใหญ ตนื่ เตน เรา ใจ

4. กลองบองโก เปนกลองคู จะตองมี 2 ใบเสมอ เลก็ 1 ใบ ใหญ 1 ใบ ระดบั เสียงของกลอง 2 ใบ ตงั้ ใหห าง กนั ในระดบั คู 4 หรอื คู 5 โดยประมาณ หนังกลองบองโกตองตงั้ ใหตึงกวา กลองคองกา ตัวกลองตดิ ตงั้ อุปกรณ ยึด ติดใหอ ยูคกู นั ขณะทต่ี ีกลอง ผูตีจะตองหนบี กลองทัง้ 2 ใบใหอ ยูระหวา งขาทง้ั สองขางหนีบไวด ว ยหัวเขา หรอื วาง ไวบนขาตงั้ โลหะกไ็ ด กลองบองโกตองตดี ว ยปลายน้ิวมอื และฝามอื เชน เดียวกับกลองคองกา

5. แทมบูรนิ เปน เคร่อื งตกี ระทบ ประกอบชน้ิ ดวยขอบกลม เหมอื นขอบกลองขนาดเล็กประมาณ 10 นว้ิ ขอบทำดว ยไมพลาสตกิ หรือโลหะ รอบ ๆ ขอบติดดวยแผนโลหะประกบกัน 2 แผน หรอื ติดดว ยลกู กระพรวนเปน ระยะ ใชก ารตกี ระทบกับฝา มือหรือส่ันเขยา ใหเ กิดเสยี งดงั กรงุ กริ๋ง เพ่ือประกอบจังกวะใหเกดิ ความสนุกสนาน สด ชื่น แทมบูรินบางชนิดจะขึงดวยหนังเหมอื นกลอง 1 ดานใชฝา มือตที ี่หนัง

6. ฉาบ คือ เครื่องดนตรกี ระทบ มหี ลายลักษณะ บางชนิดใชต ีคูใ หเกดิ เสียง ผตู ีตอ งลอดมอื เขาไปท่ีหรู อ ย ฉาบซึ่งทำสายหนงั แบฝา มือใหป ระกบแนบกบั ฝาฉาบตรงสว นนูนกลางฉาบ แลวตกี ระทบฝาฉาบดวยมอื ท้งั สองขาง ฉาบบางชนดิ จะใชเ พียงขางเดียวตีดว ยไมตีฉาบประเภทนีต้ องตดิ ตง้ั บนขาต้งั เชน ฉาบทีใ่ ชส ำหรบั กลองชุด เปนตน ฉาบมีหลายขนาดเสน ผาศูนยกลางมากจะทำใหเ กดิ เสียงดังและความกองกงั วานมากขน้ึ

7. โซโลโฟน คือ เครือ่ งดนตรีกระทบทีรม รี ะดบั เสียงแนน อน เปนระนาดไมขนาดเลก็ ของดนตรนีตะวนั ตก ลกั ษณะท่วั ไปจะคลา ยกับมาริมบา หรอื ไวบราโฟน แตขนาดเลก็ กวา ลกู ระนาดทำดว ยไมเนอ้ื แข็ง ใตลกู ระนาดมี ทอ โลหะตดิ อยู เพ่ือเปนตวั ขยายเสยี ง เคร่อื งดนตรีสากลประเภทเครอื่ งล่ิมนิว้

1. เปยโน เปน เคร่ืองดนตรปี ระเภทคียบ อรด เกิดเสียงโดยการกดคียท่ีตองการ แลว คยี นั้นจะสงแรงไปท่ี กลไกตางๆภายในเครอื่ ง เพ่ือทจ่ี ะทำใหส ายโลหะทข่ี ึงตงึ สน่ั สะเทือนทำใหเกดิ เสียงดงั ขึ้น สายเสียงจะถกู ตีดวยคอน ซ่งึ เชื่อมโยงไปยังคียท กี่ ดโดยผา นเคร่อื งกลไกที่ซบั ซอนทเี่ รียกวา แอ็คชนั่ แตเดิมเปย โนมชี ื่อเรียกวา เปย โนฟอรเต ท้งั น้เี พราะ เปย โนสามารถบรรเลงดว ยเสยี งเบาและเสยี งดังไดอ ยา งเดน ชดั

2. ออรแกน เปนเครอื่ งดนตรีคยี บ อรดประเภทใชลม เมือ่ มลี มเปาผา นทอทำใหเ กิดเสยี งทอ ละหนง่ึ เสียง ออรแ กนมีแผงคยี สำหรับกดดวยนว้ิ และแผงคียเหยยี บดวยเทา แผงคียที่กดเลน ดว ยมือเรยี กวา แมนนวล แผงคียท ่ี เหยียบดวยเทา เรยี กวา เพดดัล การบังคบั กลุมทอ ตา งๆซ่งึ จะดไวเปนพวกเดยี วกันทำไดโดยการใชปุมกด หรือดนั ยกขึน้ ลง ท่ีเรยี กวา สต็อป ออรแ กนขนาดใหญจ ะมีกลมุ ทอเปลยี่ นเสยี งทเ่ี รยี กวา รีจสี เตอร เปนจำนวนมากเพื่อใช สรางสสี นั แหงเสยี งไดหลากหลาย ออรแ กนสมยั ใหมใชไ ฟฟาบงั คบั แกนลมซ่งึ ตามแบบด้ังเดมิ น้นั ลมทใ่ี ชก เ็ กิดจาก การอัดลมดวยเทา ของผูเลนหรอื ไมกม็ ีผชู ว ยอัดลมแทนให

คำชีแ้ จง ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง เครือ่ งดนตรีสากล ใหนักเรยี นติดภาพเคร่ืองดนตรีสากลตามประเภทท่กี ำหนด พรอ มอธบิ ายหลักการใชแ ละบำรุงรกั ษา เคร่อื งดนตรีประเภทน้ัน

(ตดิ ภาพ) 1. เครือ่ งสาย หลกั การใชแ ละบำรงุ รักษาเครื่องดนตรสี ากลประเภน้ี

คอื

(ติดภาพ) 2. เครื่องเปา ลมไม หลักการใชแ ละบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรสี ากลประเภน้ี

คือ

(ตดิ ภาพ) 3. เครื่องเปา ลมทองเหลือง หลักการใชและบำรงุ รักษาเครือ่ งดนตรีสากลประเภนี้

คอื

(ตดิ ภาพ) 4. เคร่อื งดนตรีประเภทมลี ่ิมน้วิ (ตดิ ภาพ) หลักการใชและบำรุงรกั ษาเคร่อื งดนตรสี ากประเภนี้ คือ

5. เครื่องดนตรปี ระเภทเคร่ืองตี หลักการใชและบำรุงรักษาเครื่องดนตรสี ากประเภน้ี คือ

คำชแี้ จง เฉลย ใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง เคร่ืองดนตรสี ากล ใหนักเรยี นติดภาพเครือ่ งดนตรสี ากลตามประเภทท่ีกำหนด พรอ มอธบิ ายหลกั การใชและบำรุงรกั ษา เคร่อื งดนตรปี ระเภทน้ัน

(ตดิ ภาพ) 1. เครือ่ งสาย หลักการใชแ ละบำรงุ รกั ษาเคร่อื งดนตรีสากประเภทน้ี แหงทีม่ เี นื้อนุม ฝุน ท่ีเกาะอยู คอื กอนหรอื หลงั การเลน เครอ่ื งดนตรีใหใ ชผา จะตองปรับ ลูบเบาๆ ไปบนสายและตวั เคร่อื งดนตรเี พ่ือขจัด

และหลังใชเ ครอื่ งดนตรีเสร็จแลว กอนนำไปเก็บ

สายเพอื่ ผอ นสายใหหยอนทุกครั้ง

(ตดิ ภาพ) 2. เครื่องเปา ลมไม หลกั การใชแ ละบำรุงรักษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

(ติดภาพ) 3. เครื่องเปาลมทองเหลือง หลกั การใชแ ละบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

(ตดิ ภาพ) 4. เครื่องดนตรปี ระเภทมีล่ิมนว้ิ (ติดภาพ) หลกั การใชและบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

5. เครือ่ งดนตรปี ระเภทเครือ่ งตี หลักการใชและบำรุงรักษาเครื่องดนตรสี ากลประเภทนี้

คือ

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอยใู นดุลยพินิจของครผู สู อน)

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล

คำชแี้ จง :ให ผูสอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอ งที่ตรง กบั ระดบั คะแนน

ลำดับ ชอ่ื -สกุล ความมวี ินัย ความมนี ำ้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอ รวม ท่ี ของผูรับการประเมนิ เอ้อื เฟอ ความคดิ เหน็ ความคิดเห็น เวลา 20 เสียสละ คะแนน

43214321432143214321

ลงช่อื .................................................... ผูป ระเมิน ................ /................ /................

เกณฑก ารใหคะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ำเสมอ ให 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก

14 - 17 ดี

ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 2 คะแนน 10 - 13 พอใช้

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ ยครงั้ ให 1 คะแนน ตํากว่า ปรบั ปรุง

คำชีแ้ จง : แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุม

ให ผูส อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอง ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ลำดบั ชอ่ื -สกุล การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมีนำ้ ใจ การมี รวม ที่ ของผรู บั การประเมิน ความคดิ เหน็ ฟงคนอืน่ ตามท่ีไดร ับ สว นรวมใน 20 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกลุม

43214321 432 14321 4321

ลงช่อื .................................................... ผปู ระเมิน ................ /................ /................

เกณฑการใหค ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยางสมำ่ เสมอ ให 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก

ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให 2 คะแนน 14 - 17 ดี

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอยครัง้ ให 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้

ตํากว่า ปรบั ปรุง

แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรยี นรูที่ 2

คำช้แี จง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. เครือ่ งดนตรชี นดิ ใด จัดเปนประเภทเดยี วกับเครอื่ งดนตรี 6. วงเชมเบอรมวิ สคิ เปน วงดนตรที ม่ี ลี กั ษณะอยา งไร

ตระกลู ไวโอลิน ก. มีผูบรรเลง 10 คน

ก. ฮารป ข. มผี บู รรเลงต้ังแต 2-9 คน

ข. แบนโจ ค. มีผบู รรเลงต้ังแต 8-10 คน

ค. แมนโดลิน ง. มีผูบรรเลงตงั้ แต 10 คนขนึ้ ไป

ง. วโิ อลอนเชลโล 7. วงดนตรที ่ีใชใ นพิธีเดินสวนสนามของตำรวจและทหาร

2. เครือ่ งดนตรีท่ีมลี กั ษณะคลา ยฟลูต แตเล็กกวา โดยมผี ูถือคฑาสง สัญญาณใหผบู รรเลงทราบ

คอื เครอื่ งดนตรีชนิดใด คือวงดนตรีประเภทใด

ก. โอโบ ก. วงดรุ ิยางค ข. วงเคร่ืองสาย

ข. บาสซนู ค. แตรวง ง. วงคอมโบ

ค. พิกโคโล 8. อปุ กรณท ผ่ี ูอำนวยเพลงใชใหจงั หวะและควบคมุ การ

ง. ริคอรเดอร บรรเลง เรียกวา อะไร

3. กตี ารโปรงสายเอ็น มชี ่ือเรยี กอกี อยา งวา อะไร ก. ไมคฑา ข. ไมค ุมวง

ก. กีตารแจ็ส ค. ไมบ าตอง ง. ไมบ าซาร

ข. กีตารริท่ึม 9. วงดนตรขี นาดใหญท ่ีมเี ครอ่ื งดนตรคี รบทกุ ประเภท

ค. กีตารโ ฟลค มีผูบรรเลง 8-10 คน เรียกวา อะไร

ง. กีตารคลาสสิก ก. วงแจส

4. เครือ่ งดนตรที ม่ี ีสดั สว นใกลเ คยี งกบั ทรัมเปตมากทสี่ ดุ ข. วงสตริง

คอื เครอ่ื งดนตรชี นดิ ใด ค. วงเชมเบอรม ิวสคิ

ก. ทบู า ข. คอรเ น็ต ง. วงดรุ ยิ างคซมิ โฟนี

ค. ยโู ฟเนยี ม ง. ทรอมโบน 10. การปฏบิ ตั ใิ นขอใดเปนการดูแลรกั ษาเครือ่ งดนตรไี ดดี

5. เครอื่ งดนตรชี นดิ ใด ท่ีใหเสยี งต่ำมากท่ีสุด ทีส่ ุด

ก. ทบู า ก. โต นกั เปย โน หลงั จากฝก ซอมเพลงเสร็จใชผาคลมุ

ข. ทรัมเปต ข. จอหน เลนอเิ ล็กโทนไปดวยรบั ประทานขนมไปดว ย

ค. ยโู ฟเนียม ค. ปด ต้งั สายกตี ารเ สรจ็ แลวเกบ็ ใสในกลองเปน อยา งดี

ง. แซ็กโซโฟน ง. สมาชกิ วงโยธวาทิตใชผ า นมุ ๆ เชด็ เครือ่ งดนตรี

เบาๆ หลงั จากฝกซอมทุกวนั

1. ง 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก 6. ข 7. ค 8. ค 9. ง 10. ง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4

รายวิชาศลิ ปะ สาระ ที่ 2 ดนตรี (สากล) รหัสวชิ า ศ 22102 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

หนว ยการเรียนรูท ่ี 3 เคร่ืองดนตรแี ละวงดนตรีสากล เวลา 4 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง วงดนตรสี ากล เวลา 2 ชว่ั โมง

ผสู อน นายสุภชยั จนั ทะโสม โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธานี

มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัด ทใ่ี ช

ศ 2.1 ม.2/4 รองเพลงและเลนดนตรีเดย่ี ว และบรรเลงรวมวง

สาระสำคญั

วงดนตรีสากลแตละประเภทจะมลี กั ษณะการผสมวงท่แี ตกตางกนั ทั้งชนิดของเคร่อื งดนตรีและจำนวนชิ้น ในการบรรเลง จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

- อธบิ ายลกั ษณะการผสมวงของวงดนตรีสากลได สาระการเรียนรู

- วงดนตรสี ากล คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

1. มีวินยั 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ มนั่ ในการทำงาน เบญจวถิ กี าญจนา 1. เทิดทนู สถาบนั 2. กตญั ู 3. บุคลกิ ดี 4. มวี ินยั 5. ใหเ กียรติ สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกปญหา

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสกู ารพัฒนาผูเรยี น ความสามารถและทักษะทจ่ี ำเปนในการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls) R1– Reading (อานออก) R2– (W)Riting (เขยี นได) R3 – (A)Rithmetics (คิดเปน) C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะดานการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการ

แกปญ หา) C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคและนวตั กรรม) C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดานความเขาใจตางวฒั นธรรมตางกระบวนทัศน) C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา นความรวมมือ การทำงานเปนทีมและ

ภาวะผูน ำ) C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา นการสือ่ สารสารสนเทศและรเู ทา

ทนั ส่ือ) C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร) C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นร)ู C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)

L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู) L2 – Leadership (ทักษะความเปนผูน ำ)

การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ ดานความรู

ภาระงาน/ชน้ิ งาน

ตอบคำถามสะทอน ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมินการตอบ ระดบั 4 ดีเยย่ี ม 4 คะแนน ความคดิ วงดนตรีสากล สะทอ นความคิด ตาม คำถามสะทอนความคิด = ทำไดท ุกตวั ชีว้ ดั ตัวช้ีวัดตอไปนี้ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน 1. ความถกู ตอ งครอบคลุม = ทำไดม าก ส่งิ ทไ่ี ดเ รยี นรู ระดบั 2 พอใช 2 คะแนน 2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดนอย 3. การต้งั คำถามท่ีอยากรู ระดบั 1 ตอ งปรับปรงุ 1 คะแนน \= ทำไมไดถึงทำไดนอยมาก

ดา นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธกี ารวดั เคร่อื งมือ เกณฑทีใ่ ช ใบงานที่ รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ใบงานท่ี 1 ประเภทวง รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ดนตรีสากล ตรวจใบงานท่ี

ทดสอบหลงั เรียน

ทำแบบทดสอบหลงั เรียน แบบทดสอบ

ดานคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ กี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑท ่ใี ช ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ บนั ทึกการสงั เกตุ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมนักเรยี น รายบคุ คล/รายกลมุ ทำงานรายบุคคล/รายกลมุ

บนั ทกึ การสังเกตุ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั ระดบั คณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน สงั เกตความมีวินัย ใฝเรียนรู พงึ ประสงค และมุง ม่ันในการทำงาน

กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั ท่ี 1 สังเกต

1.ครูเปด ซีดกี ารแสดงดนตรีวงโยธวาทิต ใหนกั เรียนดู แลวถามนักเรยี นวา การแสดงดนตรีชดุ นมี้ ีชอื่ เรียกวา อะไร

2.นกั เรียนตอบคำถามกระตุนความคิด 3.ครใู หน ักเรียนกลุมเดิม (จากแผนการจดั การเรียนรูท่ี 3) รวมกนั ศึกษาความรูเร่อื ง ลกั ษณะของวงดนตรี สากล จากหนงั สอื เรียน ดังนี้

  1. วงเชมเบอรมวิ สคิ
  1. วงดรุ ิยางค
  2. วงเครอ่ื งสาย
  3. แตรวง
  4. วงโยธวาทติ
  5. วงแจส
  6. วงคอมโบ
  7. วงสตรงิ คอมโบหรือวงกีตารค อมโบ 4. นกั เรียนแตละกลุมชว ยกนั สังเกตและพจิ ารณาตามประเด็นที่กำหนด ดงั นี้ - ลกั ษณะการผสมวง

- เครอื่ งดนตรีท่ีใชป ระกอบในวง

ขน้ั ที่ 2 จำแนกความแตกตา ง

1. สมาชิกแตละกลุมรว มกนั วิเคราะหความแตกตางของวงดนตรีแตล ะวงตามประเดน็ ทก่ี ำหนดในขัน้ ท่ี 1

2.ตวั แทนกลุมนำเสนอผลการวิเคราะหห นาชนั้ เรยี น แลวใหเพอื่ นกลมุ อื่นชวยเสนอแนะเพิ่มเตมิ ใหส มบรู ณ ถูกตอง

ขั้นที่ 3 หาลักษณะรว ม 1. สมาชิกในกลุมชวยกนั เปรยี บเทียบวา วงดนตรปี ระเภทใดท่ีมีลักษณะการผสมวง หรอื เครื่องดนตรที ี่ใช

ประกอบในวงเหมือนกันหรือคลา ยคลงึ กันบาง 2. อาสาสมัครนักเรียน 2-3 กลมุ นำเสนอผลการเปรยี บเทียบหนา ช้นั เรียน ครูและเพ่ือนกลมุ อื่นชวยกัน

ตรวจสอบความถูกตอง ขั้นท่ี 4 ระบุช่ือความคดิ รวบยอด นักเรียนแตละกลุมนำผลการวิเคราะหและเปรียบเทยี บมาเปน แนวทางในการสรปุ ลักษณะการผสมวง และ

เครือ่ งดนตรีทใี่ ชใ นวง ของวงดนตรสี ากลแตล ะประเภท ข้นั ที่ 5 ทดสอบและนำไปใช

1. สมาชิกแตละกลมุ ชวยกนั ทำใบงานที่ 2.2 เรื่อง วงดนตรีสากล 2. ครคู ดั เลอื กใบงานท่ี 2.2 ของนักเรียน 7-8 กลมุ (วงดนตรี ไมซ ้ำกัน) แลว ใหต วั แทนกลุมนำเสนอหนาชัน้

เรยี น เสรจ็ แลว เกบ็ รวบรวมใบงานสง ครู

 ครมู อบหมายใหน กั เรียนแตละกลุมจัดทำสมุดภาพวงดนตรีสากล โดยใหครอบคลมุ ประเด็นตามที่กำหนด ดงั นี้

  1. การจดั ประเภทของวงดนตรสี ากล
  2. การอธิบายเคร่ืองดนตรีท่ใี ชประกอบในวง
  3. การอธิบายหลักการใชและบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรีสากลแตละประเภท

3. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

สอื่ /แหลงเรยี นรู

ส่ือการเรยี นรู

  1. หนังสือเรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป ม.2 2)ใบงาน เร่ือง วงดนตรสี ากล

แหลง การเรียนรู

  1. หองปฏิบตั กิ ารดนตรีสากล

สรุปผลการจัดการเรียนรู ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปนรอยละ 8 - 10 ดา นความรู 6-7 กลมุ ผูเรยี น ดี ตำ่ กวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรุง

ดา นทกั ษะ/กระบวนการ ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน รอยละ

กลุมผเู รยี น 8 - 10 6-7 ดี ตำ่ กวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรงุ

ดานคุณลักษะอันพึงประสงค

กลมุ ผเู รียน ชวงระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เปนรอ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บนั ทึกผลการจดั การเรยี นการสอน

ดา นการจัดกิจกรรมการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….....……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หาท่ีพบระหวางหรอื หลังจดั กจิ กรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชอ่ื ..........................................................ผูสอน (นายสภุ ชัย จันทะโสม )

............/........................../............. การตรวจสอบและความคิดเห็นของหวั หนากลุมสาระการเรยี นรู

 สอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สตู รฯ  กจิ กรรมการเรียนรูเนนผูเรียนเปนสำคัญ  มีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู รียน  ใชส อ่ื หรือแหลงเรยี นรทู ท่ี นั สมัยและสง เสรมิ การเรียนรูไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ  สอดคลองตามจดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน ของโรงเรยี น  สงเสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สงเสรมิ เบญจวิถกี าญจนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชอ่ื ................................................. (นางรัชนี หนเู พ็ง.)

หวั หนากลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกตองตามรปู แบบของโรงเรียน

 ผา นการนิเทศตรวจสอบจากหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู/กรรมการนิเทศ

 กอนใชสอน  หลงั ใชสอน

 มบี นั ทึกหลังจดั กจิ กรรมการเรียนรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงช่ือ............................................... (นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด)ิ์

หวั หนากลุมบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของรองผูอำนวยการฝายวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชอ่ื ..................................................... (นางกญั จนชญาณัท วงศจริ ะศักด)ิ์

รองผอู ำนวยการโรงเรยี น กลมุ บริหารงานวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของผูอ ำนวยการโรงเรียน (สว นน้ีใชเ ฉพาะแผนการสอนท่ใี ชส ง ผลงานทางวชิ าการ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชื่อ..................................................... ( นางพรทิพย นกุ ลู กจิ )

ผอู ำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ านี

ใบความรูเ ร่อื ง ประเภทของวงดนตรีสากล

วงดนตรีสากลในปจจุบนั มกี ารเรียกช่ือตาง ๆ กันออกไปหลายลักษณะ ดงั นี้ คือ

1. วงแชมเบอร (Chamber Music) เปน วงดนตรขี นาดเลก็ ใชบ รรเลงในหองโถงหรอื สถานท่ีไมใ หญโตนกั มนี กั ดนตรตี ้ังแต 2 – 9 คน มีช่อื เรยี กตาม จำนวนนักดนตรี ดงั นี้ คอื

 นกั ดนตรี 2 คน เรยี กวา ดเู อ็ด (Duet) นกั ดนตรี 3 คน เรียกวา ทรีโอ (Trio)  นกั ดนตรี 4 คน เรียกวา ควอเต็ด (Quartet) นกั ดนตรี 5 คน เรียกวา ควนิ เตด็ (Quintet)  นักดนตรี 6 คน เรียกวา เซกเตด็ (Sextet) นักดนตรี 7 คน เรียกวา เซพเตด็ (Seยtet)  นกั ดนตรี 8 คน เรยี กวา ออคเตด็ (Octet) นกั ดนตรี 9 คน เรียกวา โนเน็ด (Nonet) 2. วงออรเ คสตรา (Orchestra) เปนวงดนตรีขนาดใหญท่ีมีนักดนตรมี ากทส่ี ุด และมี วาทยกร หรอื ผอู ำนวยเพลง (Conductor) เปน ผูควบคุมวง ดนตรีเพอ่ื กำกบั จังหวะ ลลี า และความดงั เบาของบทเพลง แบงออกเปน 2 ลักษณะคือ วงแชมเบอรออรเคสตรา เปน วงดนตรที ใี่ ชเ ฉพาะเครอื่ งดนตรตี ระกลู ไวโอลเ ทาน้ัน มีผบู รรเลงจำนวน 20 – 30 คน วงซิมโฟนอี อรเ คสตรา เปน วงดนตรที ่มี เี คร่ืองดนตรีครบทัง้ 5 ประเภท คอื เครื่องสาย เครื่องลมไม เครอื่ งทองเหลอื ง เครื่องคยี บ อรด และ เครอื่ งกระทบ แบงขนาดของวงเปน 3 ขนาดคือ

 ขนาดเล็ก มีผูบ รรเลง 40 – 60 คน  ขนาดกลาง มผี บู รรเลง 60 – 80 คน  ขนาดใหญ มผี ูบรรเลงตัง้ แต 80 คน ขึน้ ไป 3. วงแบนด (Band)

เปนวงดนตรีทม่ี เี ครอื่ งดนตรีประเภทเคร่ืองลมไมแ ละเคร่ืองลมทองเหลืองเปน หลักในการบรรเลงมเี คร่อื งประกอบ จังหวะเปนสวนประกอบ แบง ออกไดดงั น้ี คือ

 วงซมิ โฟนิคแบนด เปน วงดนตรที ม่ี เี คร่ืองดนตรีเครอ่ื งเปาเปนหลกั และมดี ับเบ้ิลเบสมาบรรเลงประกอบ มักบรรเลงในรม ในหองประชมุ บทเพลงทบ่ี รรเลงเปน บทเพลงทีเ่ ขยี นขึ้นเฉพาะ

 วงมารช ชง่ิ แบนด เปนวงดนตรีที่มีอยตู ามหนวยงานสถานศึกษา เหมาะสำหรับบรรเลงกลางแจง

แบง ออกเปน 2 ประเภทคือ

 วงแตรวง เปนวงดนตรที มี่ เี ครอ่ื งเปา ทองเหลืองเปนหลักและมีเครื่องกำกับจังหวะประกอบ  วงโยธวาทติ วง เปนวงดนตรที มี่ ีเครื่องลมไมและเคร่ืองทองเหลืองเปน หลักและมีเครือ่ งกำกับจงั หวะ

ประกอบ แตเดิมเปนวงดนตรที ใ่ี ชใ นการกจิ การของทหาร ตอ มาไดแพรหลายไปสูส ถานศกึ ษา เปน วง ดนตรที ใี่ ชในการเดินสวนสนามใชบรรเลงกลางแจงประกอบการเดนิ สวนสนาม  วงบิกแบนด (Big Band) เปนวงดนตรแี จสประเภทหนงึ่ เกิดขึน้ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า จุดมุงหมายในการ บรรเลงคือ เพ่ือประกอบการเตน รำและฟงเพือ่ ความไพเราะ ประกอบดวยเครอื่ งดนตรี 3 กลมุ คือ เครื่อง ลมไม เครื่องลมทองเหลืองและเคร่ืองกำกับจงั หวะ  วงคอมโบ (Conbo) เปนวงดนตรขี นาดเลก็ ใชบ รรเลงประกอบการขบั รอง บรรเลงเพือ่ ฟง บรรเลง ประกอบการเตน รำและประกอบการแสดงตา ง ๆ 4. วงชาโดว (Shadow) เปนวงดนตรที ี่เกดิ ขนึ้ ในประเทศอังกฤษ เปนวงดนตรขี นาดเล็ก มีเคร่อื งดนตรีอยู 3 ชิ้นคอื กตี าร เบส และกลองชดุ ผขู บั รองก็เปนนักดนตรี 5. วงสตรงิ คอมโบ (String Combo) เปน วงดนตรที พ่ี ัฒนามาจากวงชาโดว ประกอบดว ยเคร่อื งดนตรีคือ กีตารคอรด กีตารลดี เบสคียบอรด กลองชดุ บางวงอาจเพิม่ เครอื่ งเปาเชน ทรัมเปต แซกโซโฟน ทรอมโบนเขา ไปดว ย 6. วงโฟลค ซอง (Folksong) ความหมายทแี่ ทจ ริงของ โฟลคซอง คือ เพลงพ้นื บาน เปนเพลงของชาวบานที่แตง ขนึ้ เพ่ือความบันเทิง สนกุ สนาน เครอื่ งดนตรีทีใ่ ชกเ็ ปนเครอ่ื งดนตรีทีอ่ ยูใ นทองถ่ิน ไมม ีแบบแผนการบรรเลงทีแ่ นนอน สำหรบั ประเทศไทย มผี ูเอาคำวา “โฟลคซอง” มาใชในความหมายวา การขบั รองเพลงยอดนยิ มท่วั ไป โดยมเี คร่ือง ดนตรกี ตี ารโ ปรงมาบรรเลงประกอบ และมีเครื่องดนตรมี าประสมคอื ขลยุ เมาทออรแ กน และเคร่ืองประกอบจงั หวะตาง ๆ 7. วงแตรวงชาวบาน เปน วงดนตรที ่เี กดิ ขนึ้ ในสงั คมไทยแถบชนบท มีรปู บแบบทไ่ี มแ นนอนเคร่ืองดนตรหี ลักคือเครอื่ งดนตรเี คร่อื งเปา ชนิดตาง ๆ เทา ทีจ่ ะหาได และเครื่องตีประกอบจังหวะ เพลงที่บรรเลงมีทั้งเพลงไทย เพลงลูกทุง และเพลงอน่ื ๆ มี ลลี าจงั หวะท่สี นกุ สนาน ใชบ รรเลงประกอบงานพิธีตา ง ๆ เ ชน งานแหต าง ๆ เปนตน

ใบงาน เรื่อง วงดนตรีสากล คำชแ้ี จง ใหน ักเรียนเลือกวงดนตรีทีช่ ื่นชอบ มา 1 วง แลวสบื คนขอมูลตามประเด็นท่กี ำหนด

วงดนตรปี ระเภทน้ี คือ

(ติดภาพ)

1. ประวัติความเปนมาของวงดนตรี มดี ังนี้ 2. เครื่องดนตรีทใ่ี ชประกอบในวง มีดังนี้

เฉลย ใบงาน เรือ่ ง วงดนตรีสากล คำชแ้ี จง ใหน ักเรียนเลือกวงดนตรที ่ชี ่ืนชอบ มา 1 วง แลวสบื คนขอมูลตามประเด็นที่กำหนด

วงดนตรีประเภทนี้ คือ

(ติดภาพ)

1. ประวตั คิ วามเปน มาของวงดนตรี มดี ังนี้ 2. เครื่องดนตรีที่ใชป ระกอบในวง มดี ังนี้

(พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอยใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน)

แบบประเมิน การนำเสนอผลงาน

คำช้ีแจง : ให ผูสอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แลวขีด  ลงในชอ ง ทตี่ รงกับระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน

4321

1 ความถกู ตอ งของเนอ้ื หา

2 ความคิดสรางสรรค

3 วิธีการนำเสนอผลงาน

4 การนำไปใชป ระโยชน

5 การตรงตอเวลา

รวม

ลงช่อื .................................................... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑก ารใหคะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบรู ณชดั เจน ให 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรองบางสวน ให 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อบกพรอ งเปน สวนใหญ ให 2 คะแนน ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรองมาก ดีมาก เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ดี พอใช คะแนน 8 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 6-7 หมายถงึ คะแนน 4-5 หมายถึง

คะแนน ต่ำกวา 4 หมายถงึ

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ ชอ่ื กลุม ช้นั

คำช้แี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน

4321

1 การแบงหนาท่ีกันอยา งเหมาะสม

2 ความรว มมอื กันทำงาน

3 การแสดงความคดิ เห็น

4 การรบั ฟง ความคิดเห็น

5 ความมีน้ำใจชว ยเหลือกนั

รวม ลงชือ่ .................................................... ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา งสมำ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ ยครั้ง ให 1 คะแนน

เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ดมี าก คะแนน 8 หมายถึง ดี คะแนน 6-7 หมายถึง พอใช คะแนน 4-5 หมายถงึ ปรับปรุง คะแนน ตำ่ กวา 4 หมายถึง

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี 2

คำช้แี จง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. กีตารโ ปรง สายเอน็ มชี อ่ื เรยี กอกี อยางวา อะไร 6. อุปกรณท ่ผี อู ำนวยเพลงใชใ หจงั หวะและควบคุมการ

ก. กตี ารค ลาสสกิ บรรเลง เรียกวา อะไร

ข. กตี ารโฟลค ก. ไมบาซาร ข. ไมบาตอง

ค. กีตารรทิ ึม่ ค. ไมค ุมวง ง. ไมค ฑา

ง. กีตารแจส็ 7. การปฏิบตั ิในขอ ใดเปนการดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรไี ดด ี

2. เครือ่ งดนตรชี นิดใด ท่ีใหเสยี งต่ำมากท่ีสดุ ทส่ี ดุ

ก. แซ็กโซโฟน ก. สมาชกิ วงโยธวาทิตใชผ า นมุ ๆ เช็ดเครื่องดนตรี

ข. ยโู ฟเนียม เบาๆ หลงั จากฝกซอมทุกวนั

ค. ทรัมเปต ข. ปด ตงั้ สายกีตารเ สรจ็ แลว เก็บใสใ นกลองเปน อยา งดี

ง. ทบู า ค. จอหน เลนอเิ ล็กโทนไปดว ยรับประทานขนมไปดวย

3. เครือ่ งดนตรีท่ีมสี ดั สวนใกลเ คียงกบั ทรัมเปตมากทส่ี ดุ ง. โต นักเปย โน หลังจากฝกซอ มเพลงเสร็จใชผา คลุม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้