หน วยการเร ยนร 1ginjvภ ม ภาคของโลกก บการพ ฒนาทางประว ต ศาสตร

ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษา

การบัญญัติศัพท์[แก้]

คำว่า "ประวัติศาสตร์" ในภาษาไทยเกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว บัญญัติคำว่า "ประวัติศาสตร์" เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "history" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

ความหมาย[แก้]

"ประวัติศาสตร์" เป็นคำที่มีความหมายหลากหลาย แต่ความหมายที่สำคัญที่ใช้โดยทั่วไป คือ

  1. เหตุการณ์ในอดีตทั้งหมดของมนุษย์ หรืออดีตทั้งหมดของมนุษย์ตั้งแต่มีมนุษย์เกิดขึ้นมาในโลกจนถึงวินาทีที่พึ่งผ่านมา
  2. หมายถึงเรื่องราวของบางเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาในอดีตที่เรารู้หรือเข้าใจ นั่นคือสิ่งที่นักประวัติศาสตร์สร้างขึ้นมาเกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไป
  3. เป็นวิชาหรือศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษย์ในอดีตที่ประกอบด้วยแนวคิดหรือปรัชญาประวัติศาสตร์ (Philosophy of History) และวิธีวิจัยประวัติศาสตร์ (Historical Method)

นักปรัชญาประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงให้คำอธิบายถึงคำว่า "ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น

อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับพฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต

อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (a continuous process of interaction between the present and the past.)

ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักประวัติศาสตร์ อธิบายคำว่าประวัติศาสตร์ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ เข้าใจคือการกล้าเผชิญหน้าโดยไม่ปิดบัง อย่าเป็นทาสความรู้ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อย ๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."

วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย

cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

  • Lamberg-Karlovsky, C. C., 1937- (1995). Ancient civilizations : the Near East and Mesoamerica. Sabloff, Jeremy A. (2nd ed.). Prospect Heights, Ill.: Waveland Press. ISBN 0-88133-834-6. OCLC 32844843.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Graham, Gordon (1997). "Chapter 1". The Shape of the Past. University of Oxford.
  • Ibn Khaldūn, 1332-1406. The Muqaddimah : an introduction to history. Rosenthal, Franz, 1914-2003,, Thomas Leiper Kane Collection (Library of Congress. Hebraic Section). New York. ISBN 0-691-01754-9. OCLC 307867.
  • Ahmed, Salahuddin. (1999). The dictionary of Muslim names. New York: New York University Press. ISBN 0-8147-0674-6. OCLC 37559819.
  • ʻInān, Muḥammad ʻAbd Allāh, 1896- (2007). Ibn Khaldūn : his life and works. Kuala Lumpur: The Other Press. ISBN 978-983-9541-53-3. OCLC 880967682.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Dr. S.W. Akhtar (1997). "The Islamic Concept of Knowledge", Al-Tawhid: A Quarterly Journal of Islamic Thought & Culture 12 (3).
  • อ้างอิงใน Robert Carneiro, The Muse of History and the Science of Culture, New York: Kluwer Publishers, 2000, p 160.
  • อ้างใน Muse of History, p 158-159.
  • Muse of History, p 147.
  • Muse of History, p 150.
  • Max Ostrovski, The Hyperbole of the World Order, Lanham: Rowman & Littlefield, 2006.
  • Arnold, John, 1969-. History : a very short introduction. Oxford. ISBN 978-0-19-154018-9. OCLC 53971494.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • King, Michelle T. (2016). "Working With/In the Archives". Research Methods for History (2nd ed.). Edinburgh: Edinburgh University Press.
  • "The German Ideology". www.marxists.org. สืบค้นเมื่อ 2021-01-11.
  • มาร์กซไม่ได้อ้างถึงการผลิตกุญแจสำคัญของประวัติศาสตร์ วัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ไม่ใช่ทฤษฎีทางปรัชญาประวัติศาสตร์ของ marche generale (ทางเดินสากล) ที่กำหนดโดยโชคชะตาของทุก ๆ คน ซึ่งเป็นอะไรก็ตามที่เป็นพฤติการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่มันสามารถหาแนวทางด้วยตัวมันเองได้ (Marx, Karl: Letter to editor of the Russian paper Otetchestvennye Zapiskym, 1877) แนวคิดของเขาซึ่งเขาได้อธิบายว่าอยู่บนฐานของการศึกษาที่เป็นรูปธรรมของเงื่อนไขที่เกิดขึ้นจริงเกี่ยวข้องในยุโรป
  • Mikhail M. Krom, "From the Center to the Margin: the Fate of Marxism in Contemporary Russian Historiography," Storia della Storiografia (2012) Issue 62, pp. 121–130
  • ↑ Fasolt, Constantin, 1951- (2004). The limits of history. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 0-226-23910-1. OCLC 52349012.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) ↑ Trouillot, Michel-Rolph (1995). "The Three Faces of Sans Souci: The Glories and the Silences in the Haitian Revolution". Silencing the Past: Power and the Production of History. Boston: Beacon Press. pp. 31–69. ASIN B00N6PB6DG
  • กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้